วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560

ลดน้ำหนัก กันต์ dbb mekan ลดน้ำหนัก กระชับหุ่น ปลอดภัย ไม่อันตราย โทร 09...







ลดน้ำหนัก กันต์ dbb mekan ลดน้ำหนัก กระชับหุ่น ปลอดภัย ไม่อันตราย

DBB MEKAN ลดน้ำหนัก กันต์ กันตถาวร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/797

โทร 094 709 4444       ,        094 435 0404

       088 826 4444        ,        089 071 8889

ไลน์ :      @jumbolife








อาหารเสริมลดน้ำหนัก DBB Mekan [ดีบีบี มีกัน] ที่รวมครบในกล่องเดียว ทั้งบล็อก เบิร์น ดีท็อกซ์ โดยผลิตจากสารสกัดจากธรรมชาติ ไม่มีสารที่เป็นอันตราย ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก อย. ทำให้มีหุ่นดี สุขภาพดี อย่างปลอดภัย


DBB Mekan by กันต์ กันตถาวร :

ขอแนะนำ อาหารเสริมลดน้ำหนัก สำหรับคนดื้อยา ลดยาก ลดจริง ฟิต กระชับ

เร่งการเผาผลาญไขมันได้เร็ว ใช้ได้ทั้งคุณผู้ชายและคุณผู้หญิง

คุณภาพ Product Of Switzerland & Italy



ทำไมต้องเป็น DBB ลดน้ำหนัก กันต์ (Detox Block Burn) by Kan??

- เร่งการเผาผลาญไขมันได้เร็วกว่า 20 เท่า

- รวบรวมสารสกัดหลักสำคัญเอาไว้มากถึง 11 ชนิด

- มีสารสกัดจาก MOROSIL , LeptiCore และ KiOnutrime-CsG ที่ช่วยเน้นในเรื่องของการดักจับไขมันไม่ดี

- ผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐาน Product Of Switzerland & Italy

- สกัดจากธรรมชาติ 100%

- ไม่มีส่วนผสมของยากดประสาท ซึ่งเป็นสาเหตุของโยโย่เอฟเฟค

- ไม่มีอาการใจสั่น เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ

- มี อย. รับรองและได้รับมาตรฐานความปลอดภัย











DBB ลดน้ำหนัก กันต์ (Detox Block Burn) by Kan ดีอย่างไร??

- ลดความอยากอาหาร อิ่มไว ไม่หิว

- ดักจับและลดการสะสมไขมัน

- ป้องกันการดูดซึมแป้งและน้ำตาล

- ผิวกระชับ กระจางใส ไม่โทรม

- เร่งการเผาพลาญพลังงานในร่างกายและดีท็อกซ์


DBB Mekan ลดความอยากอาหาร อิ่มไว ไม่หิว

ด้วยสารสกัดจาก LeptiCore สามารถปรับระดับปริมาณอาหารที่เรารับประทานเข้าไป ให้น้อยลง โดยการทำให้อื่มเร็วขึ้น ผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยยับยั้งความหิว ทำให้รู้สึกอิ่ม จากการเป็น Amino acid ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้าง CCK หรือ Cholysystokinin ที่จะช่วยกระตุ้นการสร้าง Hormone Leptin ที่สมอง ทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้น ในการรับประทานอาหาร


DBB Mekan ดักจับและลดการสะสมไขมัน

ด้วยสารสกัดจาก MOROSIL สารสกัดจากส้มสีแดงสายพันธุ์ Moro red oranges จากประเทศอิตาลี ให้สารที่สาคัญดังนี้ : Anthocyanins, Flavanoids, Hydroxycinnamic acids, Ascorbic acid และ Chitasan จาก Kioutrime-BLOC จากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ (ซึ่งผู้แพ้อาหารทะเลสามารถทานได้) มีประสิทธิภาพดักจับไขมัน และยับยั้งการสะสมของไขมันหน้าท้อง


ลดน้ำหนัก dbb mekan ควบคุมน้ำหนัก ฟื้นฟูระบบเผาผลาญให้ดีขึ้น โทร 094 709...







ลดน้ำหนัก dbb mekan ควบคุมน้ำหนัก ฟื้นฟูระบบเผาผลาญให้ดีขึ้น

DBB MEKAN ลดน้ำหนัก กันต์ กันตถาวร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.dbbmekanthailand.com

โทร 094 709 4444       ,        094 435 0404

       088 826 4444        ,        089 071 8889

ไลน์ :      @jumbolife






DBB Mekan by กันต์ กันตถาวร : สหเฮอร์เบิ้ลขอแนะนำ อาหารเสริมลดน้ำหนัก สำหรับคนดื้อยา ลดยาก ลดจริง ฟิต กระชับ เร่งการเผาผลาญไขมันได้เร็ว ใช้ได้ทั้งคุณผู้ชายและคุณผู้หญิง คุณภาพ Product Of Switzerland & Italy





สินค้า : DBB Detox Block Burn Mekan หุ่นดีเพราะ มีกันต์



สรรพคุณ : อาหารเสริมลดน้ำหนัก สำหรับคนดื้อยา ลดยาก ลดจริง ฟิต กระชับ เร่งการเผาผลาญไขมันได้เร็ว ใช้ได้ทั้งคุณผู้ชายและคุณผู้หญิง คุณภาพ Product Of Switzerland & Italy



วิธีใช้ :

เม็ดขาว Detox : ทานวันละ 1 เม็ด ก่อนนอน

เม็ดแดง Block Burn : ทานวันละ 2 เม็ด ก่อนอาหารเช้า 20 นาที

ส่วนผสม :

-MOROSIL

-KioNutrim-bloc

-Bitter orange

-Green Tea

-Prebiotic




DBB Detox Block Burn หุ่นดีเพราะมีกันต์ Mekan อาหารเสริมลดน้ำหนัก สำหรับคนดื้อยา ลดยาก ลดจริง ฟิต กระชับ เร่งการเผาผลาญไขมันได้เร็ว ใช้ได้ทั้งคุณผู้ชายและคุณผู้หญิง คุณภาพ Product Of Switzerland & Italy










# DBB Mekan ลดความอยากอาหาร อิ่มไว ไม่หิว

ด้วยสารสกัดจาก LeptiCore สามารถปรับระดับปริมาณอาหารที่เรารับประทานเข้าไป ให้น้อยลง โดยการทำให้อื่มเร็วขึ้น ผลิตภัณฑ์ที่จะช่วยยับยั้งความหิว ทำให้รู้สึกอิ่ม จากการเป็น Amino acid ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้าง CCK หรือ Cholysystokinin ที่จะช่วยกระตุ้นการสร้าง Hormone Leptin ที่สมอง ทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้น ในการรับประทานอาหาร



# DBB Mekan ดักจับและลดการสะสมไขมัน

ด้วยสารสกัดจาก MOROSIL สารสกัดจากส้มสีแดงสายพันธุ์ Moro red oranges จากประเทศอิตาลี ให้สารที่สาคัญดังนี้ : Anthocyanins, Flavanoids, Hydroxycinnamic acids, Ascorbic acid และ Chitasan จาก Kioutrime-BLOC จากประเทศสวิสเซอร์แลนด์ (ซึ่งผู้แพ้อาหารทะเลสามารถทานได้) มีประสิทธิภาพดักจับไขมัน และยับยั้งการสะสมของไขมันหน้าท้อง



# DBB Mekan ป้องกันการดูดซึมแป้งและน้ำตาล

ทำการดูซึมแป้งและน้ำตาลซึ่งจะถูกสะสมเป็นไขมัน ก่อนเข้าสู่ร่างกาน ด้วยสารสกัดจาก Soy Protine Isolate White Kidnet bean extract และสารสกัดจาก Hoodia gondanii พร้อมรักษาระดับน้ำตาลในร่างกายโดย Eatless



# DBB Mekan ผิวกระชับ กระจางใส

ด้วย Red Orange Complex ช่วยลดผิวหมองคล้า และเพื่มความสว่างสดในอย่างเป็นธรรมชาติ ช่วยลดการอักเสบของผิว และลดผดผื่นจากแสงแดด, ชะลอความเสื่อมโทรมของผิวจากแสงแดด ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ และช่วยลดริ้วรอยของผิวหนังได้อีกด้วย



# DBB Mekan เร่งการเผาพลาญพลังงานในร่างกาย และดีท็อกซ์ ช่วยขับถ่ายอาหารที่เรารับประทานเกินเข้าไป

ด้วย พรีไบโอติก สารสกัดจากส้มแขก, มะขามป้อม และใยอาหารจากผลไม้หลากหลายชนิด, สารสกัดจาก L-Carnitine, L-tartrate, Chormium amino acid chelate, Raspberry ketone muj ประสิทธิภาพการเผาผลาญมากยิ่งขึ้น เมื่อเพิ่มการออกกำลังกาย


วันเสาร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2560

หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ดูแลสุขภาพอาการปวดศรีษะ เบาหวาน โทร 094 709 4444







หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ดูแลสุขภาพอาการปวดศรีษะ เบาหวาน

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.linhzhimin2u.com/

โทร. 094 709 4444

         094 435 0404

         088 826 4444

         089 071 8889

Line :   @jumbolife





          โรคเบาหวาน อยากรู้ว่าตัวเองกำลังกลายเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือไม่ ต้องเช็กอาการเหล่านี้ อย่ามัวแต่ละเลยจนสายเกินแก้



          โรคเบาหวาน เป็นโรคภัยไข้เจ็บที่คนสมัยนี้ตรวจพบกันมากขึ้น เนื่องจากสภาวะสังคมที่เปลี่ยนไป ทำให้ต้องเร่งรีบอยู่ตลอดเวลา และลืมเอาใจใส่สุขภาพของตัวเอง ซึ่งส่วนใหญ่ก็แทบจะไม่รู้เลยว่าตัวเองเป็นนอกเสียจากว่าจะไปตร­­­­วจสุขภาพแล้วจึงจะพบ แต่กว่าจะพบว่าตัวเองเป็นเบาหวาน ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงก็ส่งผลมากมายต่อสุขภาพแล้ว แถมพอเป็นแล้วก็ยังไม่รู้อีกว่าตัวเองเป็นเบาหวานประเภทไหน เพราะโรคเบาหวานนั้นก็ยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท



          วันนี้กระปุกดอทคอมก็เลยจะพาทุกคนที่ยังชอบใช้ชีวิตอยู่บนความเ­­­­ร่งรีบไปทำความรู้จักกับโรคเบาหวานกัน แถมด้วยวิธีการสังเกตตัวเองว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ ที่เว็บไซต์ health บ่งชี้มาแล้วว่านี่ล่ะคืออาการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน อ่านแล้วรีบเช็ก รู้ตัวก่อนจะได้รักษาได้อย่างถูกวิธีค่ะ

          โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติทางร่างกายที่เกิดจากการที่ตับอ่อนสร้าง "ฮอร์โมนอินซูลิน" ได้ น้อยหรือไม่สามารถสร้างได้เลย ซึ่งฮอร์โมนอินซูลินที่ว่าจะคอยช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลมาใ­­­­ช้เป็นพลังงาน และเมื่อฮอร์โมนอินซูลินในร่างกายไม่เพียงพอก็จะทำให้เกิดการสะ­­­­สมของน้ำตาลในอวัยวะต่าง ๆ เมื่อน้ำตาลสะสมในเลือดมาก ๆ ก็จะถูกกรองออกมาผ่านทางปัสสาวะนั่นเอง







          โดยโรคเบาหวานเป็นโรคที่เรื้อรังและไม่หายขาด รวมทั้งยังเป็นโรคทางพันธุกรรมอีกด้วย นอกจากนี้โรคเบาหวานยังสามารถเกิดขึ้นได้แม้คนในครอบครัวไม่มี­ปร­ะวัติโรคเบาหวาน เพราะปัจจัยต่าง ๆ ในการใช้ชีวิต อย่างเช่น อาหารการกิน สิ่งแวดล้อม การออกกำลังกาย หรือแม้แต่การใช้ยาบางชนิด ก็ทำให้เกิดโรคเบาหวานได้เช่นกัน



          โรคเบาหวานแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ ประเภทที่พึ่งอินซูลินและประเภทที่ไม่พึ่งอินซูลิน โดยชนิดที่พบได้บ่อยที่สุดก็คือ ประเภทที่ 2 หรือประเภทที่ไม่พึ่งอินซูลิน ซึ่งมีความรุนแรงน้อย และมักพบในกลุ่มคนอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่ก็อาจจะพบในวัยเด็กหรือวัยหนุ่มสาวได้ โดยประเภทนี้ตับอ่อนจะสามารถสร้างอินซูลินได้แต่ก็สร้างได้น้อย­­­­ ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ทำให้ร่างกายจำเป็นต้องได้รับอินซูลินบ้างเป็นครั้งคราว ทั้งนี้อาการของผู้ป่วยโรคเบาหวานมักจะสังเกตได้ดังนี้ค่ะ


 โรคเบาหวาน



ปัสสาวะบ่อยขึ้น หิวน้ำบ่อยขึ้น



          หากคุณเริ่มรู้สึกว่าพักหลัง ๆ คุณลุกไปเข้าห้องน้ำบ่อยกว่าปกติ โดยเฉพาะในตอนกลางคืน และกระหายน้ำมากกว่าเดิม ขอบอกเลยว่านั่นเป็นสัญญาณของโรคเบาหวานค่ะ นั่นก็เป็นเพราะร่างกายจะต้องขับปริมาณน้ำตาลในเลือดที่สูงกว่า­­­­ปกติออก มาทางปัสสาวะ และร่างกายก็ต้องการน้ำเพื่อทดแทนของเหลวที่ขับออกไปพร้อมกับน้ำตาล แต่ก็จะเป็นเฉพาะเวลาที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเท่านั้น หากสามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้ปกติได้ อาการเหล่านี้ก็จะเบาบางล­งค่ะ


น้ำหนักลด 



          การที่น้ำหนักลดผิดปกติไม่ใช่เรื่องที่ควรละเลยค่ะ เพราะนั่นอาจจะเป็นสัญญาณเตือนของโรคบางชนิดได้ โดยเฉพาะโรคเบาหวาน การที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงจะส่งผลให้น้ำหนักดิ่งลงอย่างรวด­­­­เร็วประมาณ 5-10 กิโลกรัม ภายในเวลา 2-3 เดือนเท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ผลดีกับร่างกายเลยค่ะ



          ส่วนสาเหตุของการที่น้ำหนักลดอย่างรวดเร็วนั้นก็เนื่องมาจากร่า­­งกาย­­ไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานได้ ทำให้ร่างกายเหมือนอยู่ในสภาวะขาดอาหารและเริ่มดึงโปรตีนจากกล้­­­­ามเนื้อ มาใช้เป็นพลังงานแทน นอกจากนี้การที่ไตทำงานอย่างหนักยังส่งผลให้ร่างกายเผาผลาญแคลอ­­­­รีมากเกินไป แถมยังอันตรายต่อไตอีกด้วย


หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ดูแลสุขภาพอาการกระดูกทับเส้น น้ำในหูไม่เท่ากัน...





หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ดูแลสุขภาพอาการกระดูกทับเส้น น้ำในหูไม่เท่ากัน 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.linhzhiminkorea.com/

โทร. 094 709 4444

         094 435 0404

         088 826 4444

         089 071 8889

Line :   @jumbolife




กระดูกทับเส้น (Herniated Disc) คือปัญหาเกี่ยวกับหมอนรองกระดูกอย่างหนึ่ง เกิดจากหมอนรองกระดูกที่อยู่บริเวณกระดูกสันหลังถูกทำลายจนเสียหาย ส่งผลให้ไปกดทับเส้นประสาท แนวกระดูกสันหลังประกอบด้วยกระดูกสันหลังจำนวน 30 ชิ้น เริ่มตั้งแต่กระดูกสันหลังส่วนคอ 7 ชิ้น กระดูกสันหลังส่วนกลาง 12 ชิ้น และกระดูกสันหลังส่วนล่างหรือเอวอีก 5 ชิ้น แต่ละส่วนของกระดูกสันหลังบริเวณคอ อก และเอวทั้ง 24 ชิ้นนี้ เชื่อมกันด้วยเนื้อเยื่อซึ่งเป็นแผ่นกลมเรียกว่าหมอนรองกระดูก ด้านในหมอนรองกระดูกมีลักษณะนุ่มเหนียว ส่วนด้านนอกแข็ง หมอนรองกระดูกช่วยให้หลังมีความยืดหยุ่นขณะเคลื่อนไหวและปกป้องกระดูกจากกิจกรรมที่ทำให้เกิดแรงกระแทกอย่างการเดิน ยกของ หรือบิดตัว ส่วนกระดูกสันหลังชิ้นที่ 25-30 เชื่อมต่อยาวมาถึงบริเวณก้นกบเป็นเส้นเดียวกัน ไม่มีหมอนรองกระดูกรองรับเหมือนกระดูกสันหลัง 24 ชิ้นแรก



กระดูกทับเส้น



หากได้รับบาดเจ็บหรือกระดูกเสื่อม มักส่งผลให้หมอนรองกระดูกแตก และกระดูกอ่อนส่วนที่อยู่ภายในหมอนรองกระดูกโผล่ออกมา เมื่อหมอนรองกระดูกเคลื่อนหรือกระดูกทับเส้นทำให้ผู้ป่วยเจ็บปวดและไม่สบายตัว หากกระดูกที่เคลื่อนออกมานั้นกดทับเส้นประสาท ผู้ป่วยอาจรู้สึกชา อ่อนแรง หรือเจ็บบริเวณแนวเส้นประสาทที่ถูกกดทับ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการรุนแรง อาจต้องได้รับการผ่าตัดเพื่อรักษาหรือนำกระดูกที่ทับเส้นออกไป โดยส่วนใหญ่ อาการกระดูกทับเส้นมักเกิดขึ้นบริเวณกระดูกสันหลังส่วนเอว ซึ่งอยู่ระหว่างกระดูกสันหลังส่วนอกและกระดูกใต้กระเบนเหน็บ









อาการกระดูกทับเส้น



กระดูกทับเส้นเกิดขึ้นได้ทุกส่วนตามแนวกระดูกสันหลังซึ่งเริ่มตั้งแต่คอไปจนถึงหลังส่วนล่าง ซึ่งกระดูกสันหลังส่วนล่างเป็นบริเวณที่เกิดกระดูกทับเส้นได้บ่อย ทั้งนี้ กระดูกสันหลังประกอบด้วยเส้นประสาทและเส้นเลือดที่มีโครงสร้างซับซ้อน เมื่อหมอนรองกระดูกเคลื่อนจึงทำให้เกิดการกดทับเส้นประสาทและกล้ามเนื้อที่อยู่ล้อมรอบแนวกระดูกสันหลังได้ ผู้ป่วยกระดูกทับเส้นมักมีอาการ ดังนี้



เจ็บปวดบริเวณที่ถูกกดทับ อาการเจ็บปวดนี้มักกำเริบเมื่อเกิดการกดทับบริเวณเส้นประสาท โดยจะมีอาการเมื่อไอ จาม หากหมอนรองกระดูกทับเส้นที่คอ ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บมากบริเวณไหล่และแขน  หากกระดูกทับเส้นเกิดขึ้นบริเวณเส้นประสาทไซอาติก (Sciatic Nerve) ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่ยาวที่สุดในร่างกายเริ่มตั้งแต่ด้านหลังบริเวณเชิงกราน ก้น ร้าวลงไปถึงขาและเท้าทั้งสองข้าง ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บตั้งแต่ก้นลามไปถึงต้นขาหลัง สะโพก น่อง และเท้า โดยมีอาการเจ็บเล็กน้อยจนรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ

นอกจากนี้ ผู้ป่วยอาจมีอาการปวดร้าวลงขาเมื่อต้องเดินในระยะทางสั้น ๆ และอาการแย่ลงเมื่อยืนขึ้น นั่งลง เคลื่อนไหวบางท่า หรือตอนกลางคืน

รู้สึกชาหรือเสียวปลาบ กระดูกทับเส้นอาจทำให้ผู้ป่วยรู้สึกชาหรือเสียวปลาบที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เนื่องจากเส้นประสาทของร่างกายส่วนนั้นถูกกดทับ รวมทั้งเสียวปลาบ ปวด หรือรู้สึกแสบร้อนบริเวณที่เส้นประสาทถูกกดทับ

กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อบริเวณที่เส้นประสาทถูกกดทับนั้นมีแนวโน้มอ่อนแรง หากกล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ป่วยมักสะดุดหรือล้มบ่อย หยิบหรือถือของไม่ถนัด หากมีอาการรุนแรงอาจไม่สามารถยกหรือถือของได้

เห็ดหลินจือแดง หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคภูมิแพ้ ความดัน ไขมันเลือดสูง โท...







เห็ดหลินจือแดง หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคภูมิแพ้ ความดัน ไขมันเลือดสูง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/399

โทร. 094 709 4444

         094 435 0404

         088 826 4444

         089 071 8889

Line :   @jumbolife


โรคภูมิแพ้ (Allergy) เป็นโรคที่สามารถพบเห็นได้บ่อยในทุกที่ทั่วโลก โดยเป็นโรคที่เกิดจากการตอบสนองของร่างกายต่อสารกระตุ้น ที่ในคนที่ปกตินั้นจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายกับร่างกาย เช่น ไรฝุ่น ละอองเกสรของพืช แต่ในคนที่เป็นโรคภูมิแพ้จะเกิดการตอบสนองที่มากผิดปกติต่อสารเหล่านี้ จึงทำให้เกิดอาการอักเสบกับอวัยวะที่สัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ ระยะเวลาที่อาการจะแสดงออกมาหลังจากสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้อาจจะใช้เวลาก่อนเกิดอาการเป็นนาทีหรือเป็นชั่วโมงก็ได้ และคนที่เป็นภูมิแพ้ยังมีการตอบสนองไวกว่าปกติต่อสิ่งที่ไม่ใช่สารกระตุ้น หรือสารก่อภูมิแพ้ เช่น ความเย็น ความร้อน ความชื้น ฝน ความกดอากาศต่ำ ซึ่งภาวะการณ์ตอบสนองนี้อาจจะอยู่นานเป็นวัน หรือเป็นเดือน และสามารถเกิดอาการได้โดยไม่ต้องสัมผัสสารก่อภูมิแพ้



สาเหตุของการเกิดโรคภูมิแพ้

โรคภูมิแพ้สามารถเกิดได้จากทั้งเรื่องของพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม โดยมีการค้นพบว่า ถ้าใครมีบิดาหรือมารดาป่วยเป็นโรคภูมิแพ้ บุคคลนั้นก็มีโอกาสที่จะเป็นโรคภูมิแพ้ด้วยเช่นกัน โดยมีโอกาสเป็นประมาณ 30 - 50% แต่ถ้าเป็นโรคภูมิแพ้กันทั้งบิดามารดา บุคคลนั้นก็จะมีโอกาสเป็นมากขึ้นประมาณ 50 - 70% ในขณะที่ คนที่มีบิดามารดาไม่ได้เป็นโรคภูมิแพ้เลยจะมีโอกาสเป็นอยู่ที่ 10% เท่านั้น ซึ่งในปัจจุบันนี้ยังไม่มีหนทางที่จะแก้ไขปัจจัยทางพันธุกรรมได้ ดังนั้นจึงควรป้องกันตัวเองไม่ให้โรคภูมิแพ้เกิดขึ้นด้วยการหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคายเคืองต่างๆ เช่น ควันบุหรี่ ไรฝุ่น เป็นต้น ซึ่งจะช่วยลดการเป็นภูมิแพ้ และป้องกันไม่ให้เกิดโรคภูมิแพ้ขึ้นมาได้











กระบวนการเกิดโรคภูมิแพ้

เริ่มต้นด้วยการสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ เมื่อสารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะด้วยวิธีไหน เช่น การสูดดม การสัมผัสกับผิวหนัง หรือจากการรับประทาน ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายจะตอบสนองสารก่อภูมิแพ้เหล่านั้นด้วยการหลั่งสารก่อการอักเสบต่างๆ ซึ่งจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันที่สามารถผลิตแอนติบอดี (antibody) ต่อสารก่อภูมิแพ้นั้น ๆ เมื่อภายในร่างกายมีแอนติบอดีแล้ว ก็จะทำให้ร่างกายมีความไว (sensitive) ต่อสารก่อภูมิแพ้ชนิดนั้นเพิ่มมากขึ้น



จากนั้นในครั้งต่อไปที่ร่างกายได้รับหรือมีการสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ ระบบภูมิคุ้มกันและแอนติบอดีก็จะตอบสนอง และก่อให้เกิดการกระตุ้นของเซลล์ชนิดหนึ่งที่เรียกว่าแมสต์เซลล์ (mast cell) ซึ่งจะหลั่งสารที่เรียกว่าฮีสตามีน (histamine) ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของอาการที่ไม่พึงประสงค์ของโรคภูมิแพ้

เห็ดหลินจือแดง ราชาสมุนไพร หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคมะเร็งปากมดลูก โทร 0...







เห็ดหลินจือแดง ราชาสมุนไพร หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคมะเร็งปากมดลูก

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

https://www.linhzhimin2u.com/

โทร. 094 709 4444

         094 435 0404

         088 826 4444

         089 071 8889

Line :   @jumbolife



มะเร็งปากมดลูกคืออะไร

มะเร็งปากมดลูก (Cancer of Cervix) คือ เซลล์ในร่างกายที่มีการแบ่งตัวขึ้นอย่างผิดปกติโดยไม่สามารถควบคุมได้ และจะขยายตัวใหญ่ขึ้นตามเวลา พร้อมทั้งเจริญลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ ของร่างกายได้ โดยไม่สามารถหายเองหรือรับประทานยา ต้องทำการผ่าตัดออกหรือฆ่าเชื้อมะเร็งเท่านั้น รวมทั้งยังเป็นโรคที่ทำให้ผู้หญิงเสียชีวิตเป็นอันดับหนึ่งอีกด้วย (เกณฑ์เฉลี่ย 7 คน/วัน) แต่ทั้งนี้โรคมะเร็งปากมดลูกก็ถือเป็นโรคที่สามารถรักษาให้หายขาดเป็นปกติได้ ซึ่งมะเร็งปากมดลูกนี้มักพบในผู้หญิงที่มีอายุระหว่าง 35 – 60 ปี

มะเร็งปากมดลูก

สาเหตุของโรคมะเร็งปากมดลูก

มะเร็งปากมดลูกนั้นเกิดจากการติดเชื้อไวรัสหูด (Human Papilloma Virus – HPV) ซึ่งติดต่อได้โดยทางเพศสัมพันธ์ โดยเมื่อเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายก็จะก่อให้เกิดเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งใช้ระยะเวลาในการฟักตัวนาน 10 – 15 ปีเลยทีเดียว จึงทำให้ผู้ป่วยมักไม่ทราบว่ากำลังเป็นมะเร็งปากมดลูกอยู่ และสาเหตุที่ถือเป็นปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ การมีเพศสัมพันธุ์ตั้งแต่อายุน้อย, การมีคู่นอนหลายคน (ทั้งตัวผู้หญิงเองและฝ่ายชาย), การคลอดบุตรหลายคน, กรรมพันธุ์, ขาดสารอาหารบางอย่าง, การดื่มเหล้า หรือสูบบุหรี่ รวมถึงร่างกายอ่อนแอมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (เอดส์) เป็นต้น เหล่านี้ล้วนเป็นสาเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น













อาการของมะเร็งปากมดลูก

– มีเลือดออกทางช่องคลอดแบบกะปริบกะปรอยระหว่างรอบเดือนในแต่ละเดือน ซึ่งเป็นอาการที่พบได้มากที่สุดถึง 80 – 90 เปอร์เซ็นต์ในผู้หญิงเลยทีเดียว

– มีตกขาวมากผิดปกติแบบมูกเลือด และกลิ่นเหม็นมาก

– มีเลือดออกขณะมีเพศสัมพันธ์

– อาจปวดหลังหากก้อนเนื้อลุกลามไปยังอุ้งเชิงกรานแล้วกดทับเส้นประสาท

– หากลุกลามไปยังร่างกายส่วนต่างๆ ก็จะเกิดการปวดก้นกบ ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระเป็นเลือด หรือขาบวม ฯลฯ

วิธีการรักษามะเร็งปากมดลูก

– รักษาโดยวิธีการผ่าตัด ซึ่งวิธีนี้อาจเกิดผลข้างเคียงขึ้นหลังผ่าตัด คือ อาจมีการติดเชื้อ หรือตกเลือด เป็นต้น

– รักษาโดยการฉายแสง วิธีนี้มีผลข้างเคียงคือ จะรู้สึกอ่อนเพลียมาก ผิวหนังแห้งไม่ชุ่มชื้น และอาจมีปัสสาวะปนเลือดออกมา

– รักษาโดยให้ยาเคมีบำบัด ก็มียาอยู่หลายตัวให้ได้เลือกตามความสะดวก เพราะราคาก็แพงตามเกรดของยา ซึ่งส่งผลให้เกิดการอ่อนเพลีย ผมร่วง คลื่นไส้ อาเจียน และมือ-เท้าชาได้ (ขึ้นกับตัวยาเคมีที่ใช้)



วิธีดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก

– ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารให้ครบทุก 5 หมู่ เพื่อเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรง

– หมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอแบบไม่หักโหม เช่น การเดิน หรือแกว่งแขน เป็นต้น

– ให้กำลังใจแก่ผู้ป่วยมากๆ ไม่ให้เครียด หรือวิตกกังวลมากจนเกินไป

– เมื่อพบอาการผิดปกติใดๆ ต้องรีบบอกแพทย์ผู้รักษาทันที

ซึ่งในปัจจุบันนี้มีวัคซีนสำหรับป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกแล้ว โดยเด็กและผู้หญิงที่อายุไม่เกิน 26 ปี และยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์มาก่อนก็สามารถฉีดวัคซีนนี้ได้เลยโดยไม่ต้องตรวจแปปสเมียร์ (โดยเฉพาะอายุ 9 – 26 ปี จะได้ผลมากที่สุด) แต่หากเป็นผู้หญิงที่ผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วก็ต้องตรวจแปปสเมียร์ก่อนรับวัคซีน

ดูแลสุขภาพ หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดัน โทร 088 826 4444







ดูแลสุขภาพ หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดัน 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

http://www.linhzhiminkorea.com/

โทร. 094 709 4444

         094 435 0404

         088 826 4444

         089 071 8889

Line :   @jumbolife



โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแนะจากบทความนี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่านต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำการรักษาเพื่อกำหนดเป้าหมายการรักษา บทความนี้เชื่อว่าจะช่วยท่านควบคุมเบาหวานได้ดีขึ้น

โรคเบาหวานคืออะไร

อาหารที่รับประทานเข้าไปส่วนใหญ่จะเปลี่ยนจะเปลี่ยนเป็นน้ำตาลกลูโคสในกระแสเลือดเพื่อใช้เป็นพลังงาน การเจาะเลือดเซลล์ในตับอ่อนชื่อเบต้าเซลล์เป็นตัวสร้างอินซูลิน อินซูลินเป็นตัวนำน้ำตาลกลูโคสเข้าเซลล์เพื่อใช้เป็นพลังงาน โรคเบาหวานเป็นภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดเนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน หรือประสิทธิภาพของอินซูลินลดลงเนื่องจากภาวะดื้อต่ออินซูลิน ทำให้น้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอยู่เป็นเวลานานจะเกิดโรคแทรกซ้อนต่ออวัยวะต่างๆ เช่น ตา ไต และระบบประสาท



ฮอร์โมนอินซูลินมีความสำคัญต่อร่างกายอย่างไร

อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำคัญตัวหนึ่งของร่างกาย สร้างและหลั่งจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน ทำหน้าที่เป็นตัวพาน้ำตาลกลูโคสเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานในการดำเนินชีวิต ถ้าขาดอินซูลินหรือการออกฤทธิ์ไม่ดี ร่างกายจะใช้น้ำตาลไม่ได้ จึงทำให้น้ำตาลในเลือดสูงมีอาการต่างๆของโรคเบาหวาน นอกจากมีความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารคาร์โบไฮเดรตแล้ว ยังมีความผิดปกติอื่น เช่น มีการสลายของสารไขมันและโปรตีนร่วมด้วย












ใครมีโอกาศเป็นโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานเป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ดังนั้นผู้ที่มีญาติสายตรง เช่น พ่อ แม่ พี น้อง เป็นเบาหวานจะมีความเสี่ยงเป็นเบาหวานเพิ่มขึ้น หากมีทั้งพ่อ และแม่เป็นเบาหวานจะมีความเสี่ยงเป็นเบาหวานร้อยละ 50

นอกจากนั้นพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อเบาหวานได้แก่ ผู้ที่มีน้ำหนักเกินหรือว่าอ้วน ไม่ออกกำลังกาย เป็นไขมันในเลือดสูง กลุ่มคนเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 สำหรับชนิดที่ 1 ทุกคนมีสิทธิ์เป็นเท่าๆกัน



อาการของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานชนิดที่สองจะมีอาการเป็นอย่างช้าๆโดยที่ผู้ป่วยอาจจะไม่ได้สังเกตุ อาการที่พบได้บ่อยคือ น้ำหนักลด หิวเก่งรับประทานอาหารเก่ง ดื่มน้ำเก่ง ปัสสาวะบ่อยทั้งกลางวันและกลางคืน

ส่วนโรคเบาหวานชนิดที่1 อาการค่อนข้างจะเฉียบพลันอาการทำนำผู้ป่วยมาพบแพทย์ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย น้ำหนักลด และบางท่านอาจจะมาด้วยโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน เช่นภาวะเลือดเป็นกรด

วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

บิมร้อย แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้ออักเสบ โทร 088 826 4444







บิมร้อย แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้ออักเสบ

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife




โรคข้อเข่าเสื่อมคืออะไร

        โรคข้อเข่าเสื่อม คือ โรคที่เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนผิวข้อ ซึ่งเป็นผลมาจากอายุที่เพิ่มขึ้นและการใช้งานมาก เมื่อมีการใช้งานผิวข้อที่สึกจะมีการขัดสีกัน ทำให้เกิดอาการปวดข้อเข่าตามมา



   

มีปัจจัยเสี่ยงอะไรบ้าง

        1.  อายุ การเกิดข้อเข่าเสื่อมจะพบมากตามอายุที่เพิ่มขึ้น

        2.  เพศ พบในเพศหญิงบ่อยกว่าเพศชาย

        3.  พันธุกรรม อาจมีคนในครอบครัวเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมร่วมด้วย

        4.  ภาวะอ้วน น้ำหนักตัวที่มากขึ้น ทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักและแรงกดทับมากขึ้น

        5.  การได้รับบาดเจ็บ เช่น การมีเอ็นไขว้หรือหมอนรองกระดูกเข่าฉีกขาด หรือมีกระดูกผิวข้อแตก



อาการและอาการแสดงเป็นอย่างไร

        1.  อาการปวด เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด มักปวดมากขึ้นเมื่อใช้งานและลดลงหลังจากการพัก

        2.  ข้อยึดติด ถ้าเป็นมาก มุมของการเหยียดงอเข่าจะลดลง เคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันลำบาก

        3.  ข้อบวม อาจพบเป็นๆ หายๆ เกิดจากเยื่อบุข้อ มีการอักเสบหรือมีการสร้างน้ำไขข้อเพิ่มขึ้น

        4.  มีเสียงหรือมีความรู้สึกว่ากระดูกเสียดสีกันเวลาเคลื่อนไหวข้อ

        5.  ถ้าเป็นรุนแรง ข้อจะผิดรูป ขาโก่ง

        6.  ข้อหลวม รู้สึกไม่มั่นคงเวลายืนหรือเดิน เนื่องจากเอ็นรอบๆ ข้อหย่อน

        7.  กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อมีขนาดเล็กลงและไม่มีแรง











มีวิธีการรักษาอย่างไร และสามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่

        ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมอาการได้ โดยจุดมุ่งหมายในการรักษา คือ ช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยให้หน้าที่การใช้งานของข้อกลับคืนสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด และป้องกันหรือแก้ไขการผิดรูปของข้อ วิธีการรักษาจะแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ ความรุนแรงของโรค การใช้งานที่คาดหวังและความพร้อมของผู้ให้การรักษา

    การรักษามีแนวทางหลัก 2 วิธี ได้แก่ การรักษาโดยวิธีการไม่ผ่าตัด และการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด

การรักษาด้วยวิธีการไม่ผ่าตัด

        1. การปรับเปลี่ยนการใช้งานในชีวิตประจำวัน ได้แก่

            -  การพักหรือใช้งานข้อให้น้อยลง หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินเป็นระยะเวลานาน

            -  หลีกเลี่ยงการนั่งงอเข่า เช่น คุกเข่า พับเพียบ ยองๆ ขัดสมาธิ หรือนั่งเก้าอี้ต่ำ

            -  หลีกเลี่ยงการเดินขึ้นลงบันไดโดยไม่จำเป็น ถ้าจำเป็นควรเดินช้าๆ และขึ้นลงทีละขั้น

            -  หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งท่าเดียวนานๆ ควรเปลี่ยนท่าหรือขยับข้อเข่าอยู่เรื่อยๆ

            -  นั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอห่านแทนการนั่งยองๆ ควรทำราวจับบริเวณโถนั่งเพื่อใช้ช่วยพยุงตัวเวลาจะนั่งหรือยืน



        2.  ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมาก ควรลดน้ำหนักอย่างถูกต้อง

        3.  การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน เช่น ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน จะช่วยลดแรงที่เกิดกับข้อได้

        4.  ที่นอนควรมีความสูงระดับเข่า ไม่ควรนอนบนพื้น เพราะจะปวดมากเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น

        5.  การประคบอุ่นบริเวณข้อเข่า ช่วยลดอาการปวดและกล้ามเนื้อเกร็งได้

        6.  การสวมสนับเข่า ในกรณีที่ข้อเข่าเสียความมั่นคง จะช่วยกระชับข้อและลดอาการปวด

        7.  การทำกายภาพบำบัด ได้แก่ การฝึกความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อรอบข้อ การเพิ่มหรือคงไว้ซึ่งพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อ และการเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย

        8.  การใช้ยา ปัจจุบันมียาหลายกลุ่มที่ใช้รักษาโรคข้อเสื่อม ไก้แก่

            -  ยาแก้ปวดพาราเซตามอล เป็นยากลุ่มแรกที่ใช้ในการควบคุมอาการ

            -  ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ช่วยลดอาการปวดและการอักเสบของข้อ

            -  ยาช่วยปรับเปลี่ยนโครงสร้างของข้อ เช่น กลูโคซามีนซัลเฟต จะช่วยชะลอโรค ซ่อมแซมผิวข้อ ลดการอักเสบและอาการปวด เป็นยาทางเลือกในข้อเสื่อมระยะเริ่มต้น

            -  ยาทาภายนอก ช่วยลดอาการโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลข้างเคียงจากยารับประทาน

            -  การฉีดน้ำเลี้ยงไขข้อ เป็นทางเลือกในการช่วยลดอาการปวดและช่วยให้การเคลื่อนไหวข้อดีขึ้น

            -  การฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ เป็นทางเลือกในข้อเสื่อมรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาวิธีอื่น

BIM100 อาหารเสริมน้ำมังคุด ดูแลโรคข้อเข่าเสื่อม โทร 094 709 4444





BIM100 อาหารเสริมน้ำมังคุด ดูแลโรคข้อเข่าเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife




โรคข้อเข่าเสื่อม Osteoarthritis of the knee


ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการเสื่อมของข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดินจะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่นๆกำเริบ เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังไม่ได้





 

โครงสร้างของข้อเข่า



ข้อเข่าของคนประกอบไปด้วยกระดูก 3 ส่วนคือ



กระดูกต้นขา Femur ซึ่งเป็นกระดูกส่วนบนของเข่า

กระดูกหน้าแข็ง Tibia ซึ่งเป็นกระดูกส่วนล่างของเข่า

กระดูกสะบ้า Patella ซึ่งอยู่ส่วนหน้าของเข่า

ผิวของข้อเข่าจะมีกระดูกอ่อน cartilage รูปครึ่งวงกลมหุ้ม ทำหน้าที่กระจายน้ำหนัก ในข้อเข่าจะมีน้ำเลี้ยง synovial fluid เปรียบเสมือนน้ำหล่อลื่น เป็นการป้องกันการสึกของข่อเข่า เมื่อเราเดินหรือวิ่ง ข้อของเราจะต้องรับน้ำหนักเพิ่ม ดังนั้นยิ่งน้ำหนักตัวมากเท่าใดข้อต้องรับน้ำหนักมากเท่านั้น นอกจากนั้นยังมีเอ็นและกล้ามเนื้อที่ทำให้ข้อเข่าแข็งแรง








กลไกการเกิดข้อเข่าเสื่อม


ข้อเข่าเสื่อมหมายถึงการที่กระดูกอ่อนของเข่ามีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนัก และมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่า เมื่อมีการเคลื่อนไหวของข้อเข่า ก็จะเกิดการเสียดสี และเกิดการสึกหรอของกระดูกอ่อน ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็ง ไม่เรียบ เมื่อข้อเข่าเคลื่อนไหวจะเกิดเสียงดังในข้อ เกิดอาการเจ็บปวด หากข้อเข่ามีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้ำข้อเข่าเพิ่มทำให้เกิดการบวม ตึง และปวดข้อเข่า



เมื่อมีการเสื่อมมากขึ้น ข้อเข่าก็จะมีการโก่งงอ ทำให้เกิดอาการปวดเข่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว และขนาดของจ้อเข่าก็มีขนาดใหญ่ขึ้น ในที่สุดผู้ป่วยต้องใช้ไม้เท้าช่วยในการเดิน บางท่านไม่เดินทำให้กล้ามเนื้อต้นขาลีบและไม่มีกำลัง ข้อจะติดเหมือนมีสนิมเกาะเท้าจะเหยียดไม่สุด



เมื่อข้อเข่าเสื่อมมากขึ้น กระดูกอ่อนจะมีขนาดบางลง ผิวจะขรุขระ จะมีการงอกของกระดูกขึ้นมาเรียกว่า osteophyte เมื่อมีการอักเสบเยื่อหุ้มข้อจะสร้างน้ำเลี้ยงข้อเพิ่ม ทำให้ข้อมีขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้อลีบลง การเปลี่ยนแปลงของข้อจะเป็นไปอย่างช้าๆ โดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบ ในรายที่เป็นรุนแรงกระดูกอ่อนจะบางมาก ปลายกระดูกจะมาชนกันเวลาขยับข้อจะเกิดการเสียดสีในข้อ

BIM100 สาเหตุโรคข้อเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม ปวดข้อกระดูก โทร 088 826 4444





BIM100 สาเหตุโรคข้อเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม ปวดข้อกระดูก

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife



โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee Ostoearthritis) เป็นโรคที่มีกระบวนการเกิดพยาธิสภาพของข้อโดยไม่มีอาการอักเสบเป็นลักษณะของการสึกหรอร่วมกับความพยายามของร่างกายที่จะซ่อมแซมความสึกหรอที่เกิดขึ้น แต่อัตราการซ่อมแซมไม่ทันต่ออัตราการสึกหรอ เป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพของข้อเข่าทำให้ไม่สามารถทำงานได้ดีดัง เดิม โดยเฉพาะในผู้สูงอายุซึ่งร่างกายมีความเสื่อมตามอายุขัยอยู่แล้ว การเสื่อมของข้อเข่ายิ่งมีผลกระทบต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ เป็นโรคนี้







ข้อเข่าเป็นข้อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ข้อเข่าประกอบด้วยกระดูก 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คือ กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) ส่วนปลายบนที่แบนกว้าง ส่วนที่ 2 คือ กระดูกต้นขา (Femur) ส่วนปลายล่างที่เป็นส่วนต่อ และส่วนที่ 3 กระดูกสะบ้าที่รวมเป็นข้อเข่า ผิวสัมผัสบริเวณผิวหน้าของกระดูกต้นขาจะเป็นข้อสะบ้า (Patellofemeral) ช่วงระหว่างปลายกระดูกหน้าแข้ง และปลายกระดูกต้นขาจะมีกระดูกอ่อนหุ้ม เรียกว่า กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) มีลักษณะมันเรียบ ลื่น และสีขาวใส ทำหน้าที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว รับ และถ่ายทอดน้ำหนักจากปลายกระดูกข้อหนึ่งไปยังอีกกระดูกหนึ่ง



ข้อเข่าเป็นข้อที่อยู่ตรงกลางของขา ต้องรับน้ำหนักมาก มีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบบานพับ (Hinge joint) ร่วมกับการบิดหมุน (Rotation) ภายในข้อขณะที่มีการเหยียด (Extension) ของข้อเข่าจากการทำงานของกล้ามเนื้อควอทไดรเซ็บส์ (Quadriceps) และเนื่องจากการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในลักษณะดังกล่าวจึงทำให้เกิดการเสื่อม และอักเสบได้ง่าย










โรคข้อเข่าเสื่อม



ลักษณะการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมจะเกิดบริเวณผิวกระดูกอ่อนของข้อเป็นหลัก ในระยะแรกมักเกิดบางส่วนของกระดูกอ่อน โดยเฉพาะจุดที่รับน้ำหนักมากที่สุด การเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนเกิดจากหลายปัจจัย เช่น น้ำหนักตัวที่มากเกินไป กระดูกอ่อนถูกกดหรือถูกใช้งานมากเกินไป ทำให้กระดูกอ่อนเปลี่ยนสภาพ กลายเป็นสีเหลือง และสีน้ำตาลขุ่น ผิวไม่เรียบและนิ่ม กระดูกอ่อนอาจหลุดร่อนออกจนเห็นเนื้อกระดูกใต้กระดูกอ่อน นอกจากนี้ ถ้ามีเศษกระดูกอ่อนหลุดออกมาในสารน้ำหล่อข้อจะทำให้ผิวข้อ (Synovial membrane) เกิดการอักเสบขึ้นได้ และใต้บริเวณกระดูกอ่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีการสร้างกระดูกใหม่เกิดขึ้น และมีเดือยกระดูก (Osteophyte) เกิดขึ้นที่ขอบของข้อ ซึ่งเกิดจากความพยายามของร่างกายในการซ่อมแซมเกิดถุงน้ำซึ่งเกิดจากน้ำหล่อ เลี้ยงข้อ (Synovial fluid) ที่จำนวนมากขึ้นจากการอักเสบที่เกิดขึ้นบนชั้นของกระดูกอ่อนใต้ผิวข้อ ต่อมาเมื่อกระดูกอ่อนเสื่อมมากขึ้นจะมีการทำลายไปถึงกระดูกแข็งที่อยู่ใต้ กระดูกอ่อน การอักเสบของผิวข้อ (Synovial membrane) ดังกล่าวจะเกิดในระยะที่โรคเป็นมากแล้วและมีการหดรั้ง (Contracture) เกิดขึ้นร่วมด้วยทำให้เกิดความพิการของข้อได้นอกจากนี้ยังเกิดการเปลี่ยน แปลงที่ส่วนอื่นของข้อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นแคปซูลที่หุ้มข้อหนาขึ้นโดยเฉพาะในรายที่โรคดำเนินไปมาก กระดูกอ่อนผิวข้อหลุดร่อนหายไปหมด เหลือแต่กระดูกที่มีลักษณะเป็นมันเลี่ยน (Eburnation) เนื่องจากผิวกระดูกซึ่งไม่มีกระดูกอ่อนคลุมจะขัดสีกันในขณะเคลื่อนไหวข้อทำ ให้เกิดอาการเจ็บปวดของข้อเข่าขึ้น และถ้ายังคงไม่มีการชะลอความเสื่อมก็จะเกิดความพิการในที่สุด



ชนิดของข้อเข่าเสื่อม

1. โรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ (Primary knee osteoarthritis) ไม่มีความผิดปกติมาก่อน แต่สัมพันธ์กับปัจจัย เช่น อายุที่เพิ่มขึ้น ความอ้วนและการใช้งานของข้อเข่า



2. โรคข้อเข่าเสื่อมทุติยภูมิ (Secondary knee osteoarthritis) เกิดจากมีความผิดปกติของกระดูกและข้อแต่กำเนิด ได้รับบาดเจ็บบริเวณผิวข้อ (Trauma) การอักเสบของโครงสร้างภายในข้อ ข้อไม่มีความมั่นคง


ข้อเข่าเสื่อมจะมีพยาธิสภาพเริ่มที่กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) ซึ่งในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงจะมีโปรตีโอไกลแคน (Proteoglycan)จำนวนลดลง ทำให้กระดูกอ่อนมีการอ่อนตัว และสูญเสียความยืดหยุ่น ผิวข้อทนต่อแรงได้น้อยลงกระดูกอ่อนผิวข้อจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองขุ่น ผิวข้อไม่เรียบ เกิดการแตกเป็นร่อง หรือกระดูกอ่อนหลุดล่อนออก เมื่อกระดูกอ่อนผิวข้อสึกกร่อนไป จะทำให้ข้อเสียความมั่นคง และมีการกระตุ้นเซลล์ของกระดูกอ่อน (Chondrocyte) ที่อยู่รอบๆข้อ และกระดูกอ่อนจะงอกขึ้นมาตามขอบของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทำให้ขัดขวางการเคลื่อนไหวของข้อ และเมื่อกระดูกอ่อนมีผิวข้อไม่เรียบ ความสามารถในการกระจายแรงของข้อตามปกติจึงเปลี่ยนไป ส่งผลให้มีอาการปวดขึ้น ส่วนอาการข้อฝืดเกิดจากเยื่อบุข้อหลั่งน้ำเลี้ยงข้อมากขึ้น ซึ่งน้ำเลี้ยงข้อมีไฮอะลูโรเนท (Hyalrulonate) มากผิดปกติทำให้เกิดความหนืดสูง ประกอบกับถุงหุ้มข้อหนาขึ้นและหดแคบ ผลที่ตามมาคือข้อฝืด และการเคลื่อนไหวได้ลดลง


BIM100 แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม โทร 088 826 4444







BIM100 แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม 

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife



โรคข้อเข่าเสื่อม

        โรคข้อเข่าเสื่อม คือ โรคที่เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนผิวข้อ ซึ่งเป็นผลมาจากอายุที่เพิ่มขึ้นและการใช้งานมาก เมื่อมีการใช้งานผิวข้อที่สึกจะมีการขัดสีกัน ทำให้เกิดอาการปวดข้อเข่าตามมา







มีปัจจัยเสี่ยงอะไรบ้าง

        1.  อายุ การเกิดข้อเข่าเสื่อมจะพบมากตามอายุที่เพิ่มขึ้น

        2.  เพศ พบในเพศหญิงบ่อยกว่าเพศชาย

        3.  พันธุกรรม อาจมีคนในครอบครัวเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมร่วมด้วย

        4.  ภาวะอ้วน น้ำหนักตัวที่มากขึ้น ทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักและแรงกดทับมากขึ้น

        5.  การได้รับบาดเจ็บ เช่น การมีเอ็นไขว้หรือหมอนรองกระดูกเข่าฉีกขาด หรือมีกระดูกผิวข้อแตก



อาการและอาการแสดงเป็นอย่างไร

        1.  อาการปวด เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด มักปวดมากขึ้นเมื่อใช้งานและลดลงหลังจากการพัก

        2.  ข้อยึดติด ถ้าเป็นมาก มุมของการเหยียดงอเข่าจะลดลง เคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันลำบาก

        3.  ข้อบวม อาจพบเป็นๆ หายๆ เกิดจากเยื่อบุข้อ มีการอักเสบหรือมีการสร้างน้ำไขข้อเพิ่มขึ้น

        4.  มีเสียงหรือมีความรู้สึกว่ากระดูกเสียดสีกันเวลาเคลื่อนไหวข้อ

        5.  ถ้าเป็นรุนแรง ข้อจะผิดรูป ขาโก่ง

        6.  ข้อหลวม รู้สึกไม่มั่นคงเวลายืนหรือเดิน เนื่องจากเอ็นรอบๆ ข้อหย่อน

        7.  กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อมีขนาดเล็กลงและไม่มีแรง













มีวิธีการรักษาอย่างไร และสามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่

        ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมอาการได้ โดยจุดมุ่งหมายในการรักษา คือ ช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยให้หน้าที่การใช้งานของข้อกลับคืนสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด และป้องกันหรือแก้ไขการผิดรูปของข้อ วิธีการรักษาจะแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ ความรุนแรงของโรค การใช้งานที่คาดหวังและความพร้อมของผู้ให้การรักษา

    การรักษามีแนวทางหลัก 2 วิธี ได้แก่ การรักษาโดยวิธีการไม่ผ่าตัด และการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด



การรักษาด้วยวิธีการไม่ผ่าตัด

        1. การปรับเปลี่ยนการใช้งานในชีวิตประจำวัน ได้แก่

            -  การพักหรือใช้งานข้อให้น้อยลง หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินเป็นระยะเวลานาน

            -  หลีกเลี่ยงการนั่งงอเข่า เช่น คุกเข่า พับเพียบ ยองๆ ขัดสมาธิ หรือนั่งเก้าอี้ต่ำ

            -  หลีกเลี่ยงการเดินขึ้นลงบันไดโดยไม่จำเป็น ถ้าจำเป็นควรเดินช้าๆ และขึ้นลงทีละขั้น

            -  หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งท่าเดียวนานๆ ควรเปลี่ยนท่าหรือขยับข้อเข่าอยู่เรื่อยๆ

            -  นั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอห่านแทนการนั่งยองๆ ควรทำราวจับบริเวณโถนั่งเพื่อใช้ช่วยพยุงตัวเวลาจะนั่งหรือยืน



        2.  ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมาก ควรลดน้ำหนักอย่างถูกต้อง

        3.  การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน เช่น ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน จะช่วยลดแรงที่เกิดกับข้อได้

        4.  ที่นอนควรมีความสูงระดับเข่า ไม่ควรนอนบนพื้น เพราะจะปวดมากเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น

        5.  การประคบอุ่นบริเวณข้อเข่า ช่วยลดอาการปวดและกล้ามเนื้อเกร็งได้

        6.  การสวมสนับเข่า ในกรณีที่ข้อเข่าเสียความมั่นคง จะช่วยกระชับข้อและลดอาการปวด

        7.  การทำกายภาพบำบัด ได้แก่ การฝึกความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อรอบข้อ การเพิ่มหรือคงไว้ซึ่งพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อ และการเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย

        8.  การใช้ยา ปัจจุบันมียาหลายกลุ่มที่ใช้รักษาโรคข้อเสื่อม ไก้แก่

            -  ยาแก้ปวดพาราเซตามอล เป็นยากลุ่มแรกที่ใช้ในการควบคุมอาการ

            -  ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ช่วยลดอาการปวดและการอักเสบของข้อ

            -  ยาช่วยปรับเปลี่ยนโครงสร้างของข้อ เช่น กลูโคซามีนซัลเฟต จะช่วยชะลอโรค ซ่อมแซมผิวข้อ ลดการอักเสบและอาการปวด เป็นยาทางเลือกในข้อเสื่อมระยะเริ่มต้น

            -  ยาทาภายนอก ช่วยลดอาการโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลข้างเคียงจากยารับประทาน

            -  การฉีดน้ำเลี้ยงไขข้อ เป็นทางเลือกในการช่วยลดอาการปวดและช่วยให้การเคลื่อนไหวข้อดีขึ้น

            -  การฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ เป็นทางเลือกในข้อเสื่อมรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาวิธีอื่น


BIM100 น้ำมังคุด อาการโรคข้อเสื่อม เคล็ดลับดูแลสุขภาพ โทร 094 709 4444





BIM100 น้ำมังคุด อาการโรคข้อเสื่อม เคล็ดลับดูแลสุขภาพ

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife






โรคข้อเข่าเสื่อม


โรคข้อเข่าเสื่อม คือ ภาวะที่กระดูกอ่อนผิวข้อเข่า มีการสึกหรอและเสื่อมอย่างช้าๆและจะ เป็นมากขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า เข่าบวม ข้อยึดติด มีเสียงดังในเข่า เข่าผิดรูปไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ

โรคข้อเข่าเสื่อมนี้เกิดจากการเสื่อมตามอายุขัยส่วนใหญ่ เกิดกับข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อกระดูกสันหลัง ปัญหาปวดเข่าพบได้มากในผู้สูงอายุหญิงมากกว่าชาย เนื่องจากขนบธรรมเนียมไทยที่ต้องนั่งคุกเข่าพับเพียบ ขัดสมาธิ ซึ่งเป็นท่าที่ทำให้ข้อเข่าถูกกดพับ และเอ็นกล้ามเนื้อถูกยึดมาก การนั่งเช่นนั้นนานๆ ทำให้การหมุนเวียนของเลือดไปเลี้ยงเข่าไม่ได้ดี และเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุไม่ค่อยชอบออกกำลังกาย อีกทั้งต้องทำงานหนักไม่มีการพัก ประกอบกับน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ทำให้เข่าต้องแบกน้ำหนักส่วนเกินนั้น กล้ามเนื้อจึงหย่อนสมรรถภาพลง จึงทำให้เป็นโรคเข่าเสื่อมได้ง่าย

สาเหตุหลักๆ ได้แก่

1. เป็นผลจากความเสื่อม และการใช้เข่าที่ไม่ถูกต้องมานาน

2. ความอ้วน น้ำหนักตัวมากๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้น

3. เคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณเข่ามาก่อน เช่น กระดูกบริเวณเข่าหัก, ข้อเข่าเคลื่อนหลุด, เส้นเอ็นฉีกขาด หรือหมอนรองเข่าฉีกขาด

4. โรคข้ออักเสบ เช่น โรคเก๊าท์ หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นต้น









อาการเริ่มแรกที่เตือนให้รู้ว่าเข่ากำลังมีปัญหา

เจ็บปวด เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด อาจเป็นปวดแบบเมื่อยๆ พอทน ปวดแบบเป็นๆ หายๆ หรือในรายที่เข่าได้รับบาดเจ็บ จะปวดแบบเฉียบพลันและปวดรุนแรง

เข่าบวม เข่าที่บวมทันทีภายหลังจากได้รับบาดเจ็บ มักเกิดจากมีเลือดออกภายในข้อเข่า บวมที่เกิดขึ้นช้าๆ มักเกิดจากมีความผิดปกติขององค์ประกอบภายในข้อเอง

เข่าอ่อนหรือเข่าสะดุดติด อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ แต่ที่พบบ่อยคือ เกิดจากมีบางสิ่งบางอย่างภายในข้อ ทำให้งอ หรือเหยียดเข่าในทันทีทันใดไม่ได้ เช่น เส้นเอ็นหรือกระดูกอ่อนที่ฉีกขาด หรือเศษกระดูกที่หยุดอยู่ในข้อ

เข่าฝืดหรือยึดติด อาจเป็นเฉพาะบางช่วงเวลาของวัน เช่น ตอนเช้าหลังตื่นนอน นั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น หรือเกิดขึ้นภายหลังจากได้รับบาดเจ็บที่ข้อเข่า

เมื่อปรากฎอาการดังกล่าวแล้วแสดงว่า ท่านเริ่มมีปัญหาของข้อเข่า ควรให้ความสนใจอย่างจริงจัง และพิจารณาดูว่า มีอะไรเป็นสาเหตุดังกล่าว จะเป็นต้องเริ่มต้นฝึกออกกำลังกล้ามเนื้อของข้อเข่าให้แข็งแรงขึ้น ซึ่งเป็นวิธีเดียวที่จะให้หลักประกันได้ว่า ท่านจะสามารถยืนและเดินอยู่บนขา และเข่าของตนเองได้ตลอดไป















วันที่ 3 วิธีป้องกันและการปฏิบัติ

- ควบคุมไม่ให้อ้วนเกินไป โดยการควบคุมอาหารและออกกำลังกาย

- บริหารกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อนั้นให้แข็งแรง (วิธีการบริหารดูในการออกกำลังกาย)

- ลดการใช้งานข้อนั้นในท่าที่ผิดจากธรรมชาติ เช่น การนั่งยองๆ การนั่งพับเพียบ คุกเข่าและการนั่งขัดสมาธินานเกินไป เป็นต้น

- ขณะที่มีอาการปวด ควรรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อให้การรักษาภาวะอักเสบของข้อ แล้วเริ่มทำกายภาพบำบัดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้

- อาการปวดเริ่มแรกสามารถบรรเทาด้วยยาแก้ปวดพาราเซตามอล, การใช้กระเป๋าน้ำร้อนประคบจะช่วยลดการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ ขณะที่มีอาการปวดอยู่ควรหลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินมาก ถ้าเดินควรใช้ไม้เท้าช่วยพยุงตัวเวลาเดินและใส่สนับเข่าเพื่อช่วยให้ข้อเข่ากระชับ

- ควรหลีกเลี่ยงการนั่งกับพื้น เช่น การนั่งพับเพียบ คุกเข่า ขัดสมาธิและนั่งยองๆ ควรนั่งเก้าอี้ห้อยขา หรือนั่งเหยียดขาตรง อย่านั่งนานๆ ควรเปลี่ยนอริยาบถบ่อยๆ และควรใช้โถส้วมแบบนั่งแทนแบบนั่งยองๆ

- ลดน้ำหนักเพื่อลดแรงกดกระแทกที่ข้อเข่าเวลาเดินหรือยืน

- บริหารกล้ามเนื้อรอบเข่าอย่างสม่ำเสมอ

- ถ้าอาการไม่ทุเลาควรปรึกษาแพทย์



อาการของโรคข้อเข่าเสื่อม

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบในผู้ป่วยสูงอายุ แต่ผู้ป่วยที่มีโรคข้อเรื้อรังเช่นโรครูมาตอยด์ โรคเกาต์ หรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่า ก็อาจจะเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในขณะที่อายุยังไม่มาก โดยเฉพาะคุณผู้หญิงจะมีโอกาสเป็นข้อเสื่อมได้มากกว่าผู้ชาย เนื่องจาก ความ แข็ง แรงของกระดูกและกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ชาย อาการที่สำคัญได้แก่ อาการปวดเข่า เป็นอาการ ที่สำคัญเริ่มแรกจะ ปวดเมื่อยตึงทั้ง ด้าน หน้าและด้านหลังของเข่าหรือบริเวณน่อง เมื่อเป็นมากขึ้นจะปวดบริเวณเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหว ลุกนั่งหรือเดินขึ้นบันได ไม่คล่อง เหมือนเดิม

• มีเสียงในข้อ เมื่อเคลื่อนไหวผู้ป่วยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า

• อาการบวม ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม

ข้อเข่าโก่งงอ อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน ทำให้ขาสั้นลงเดินลำบากและมีอาการปวดเวลาเดิน

ข้อเข่ายึดติด ผู้ป่วยจะไม่สามารถเหยียดหรืองอขาได้สุดเหมือนเดิมเนื่องจากมีการยึดติดภายในข้อ

BIM100 น้ำมังคุด อาการโรคข้อเสื่อม การอักเสบของข้อ โทร 088 826 4444







BIM100 น้ำมังคุด อาการโรคข้อเสื่อม การอักเสบของข้อ

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife




โรคข้อเข่าเสื่อม Osteoarthritis of the knee


ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการเสื่อมของข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดินจะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่นๆกำเริบ เช่นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังไม่ได้





 

โครงสร้างของข้อเข่า



ข้อเข่าของคนประกอบไปด้วยกระดูก 3 ส่วนคือ



กระดูกต้นขา Femur ซึ่งเป็นกระดูกส่วนบนของเข่า

กระดูกหน้าแข็ง Tibia ซึ่งเป็นกระดูกส่วนล่างของเข่า

กระดูกสะบ้า Patella ซึ่งอยู่ส่วนหน้าของเข่า

ผิวของข้อเข่าจะมีกระดูกอ่อน cartilage รูปครึ่งวงกลมหุ้ม ทำหน้าที่กระจายน้ำหนัก ในข้อเข่าจะมีน้ำเลี้ยง synovial fluid เปรียบเสมือนน้ำหล่อลื่น เป็นการป้องกันการสึกของข่อเข่า เมื่อเราเดินหรือวิ่ง ข้อของเราจะต้องรับน้ำหนักเพิ่ม ดังนั้นยิ่งน้ำหนักตัวมากเท่าใดข้อต้องรับน้ำหนักมากเท่านั้น นอกจากนั้นยังมีเอ็นและกล้ามเนื้อที่ทำให้ข้อเข่าแข็งแรง













กลไกการเกิดข้อเข่าเสื่อม


ข้อเข่าเสื่อมหมายถึงการที่กระดูกอ่อนของเข่ามีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนัก และมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่า เมื่อมีการเคลื่อนไหวของข้อเข่า ก็จะเกิดการเสียดสี และเกิดการสึกหรอของกระดูกอ่อน ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็ง ไม่เรียบ เมื่อข้อเข่าเคลื่อนไหวจะเกิดเสียงดังในข้อ เกิดอาการเจ็บปวด หากข้อเข่ามีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้ำข้อเข่าเพิ่มทำให้เกิดการบวม ตึง และปวดข้อเข่า



เมื่อมีการเสื่อมมากขึ้น ข้อเข่าก็จะมีการโก่งงอ ทำให้เกิดอาการปวดเข่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว และขนาดของจ้อเข่าก็มีขนาดใหญ่ขึ้น ในที่สุดผู้ป่วยต้องใช้ไม้เท้าช่วยในการเดิน บางท่านไม่เดินทำให้กล้ามเนื้อต้นขาลีบและไม่มีกำลัง ข้อจะติดเหมือนมีสนิมเกาะเท้าจะเหยียดไม่สุด



เมื่อข้อเข่าเสื่อมมากขึ้น กระดูกอ่อนจะมีขนาดบางลง ผิวจะขรุขระ จะมีการงอกของกระดูกขึ้นมาเรียกว่า osteophyte เมื่อมีการอักเสบเยื่อหุ้มข้อจะสร้างน้ำเลี้ยงข้อเพิ่ม ทำให้ข้อมีขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้อลีบลง การเปลี่ยนแปลงของข้อจะเป็นไปอย่างช้าๆ โดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบ ในรายที่เป็นรุนแรงกระดูกอ่อนจะบางมาก ปลายกระดูกจะมาชนกันเวลาขยับข้อจะเกิดการเสียดสีในข้อ


BIM100 น้ำมังคุด สมุนไพรช่วยดูแลโรคข้อเสื่อม ลดการอักเสบ โทร 094 709 4444







BIM100 น้ำมังคุด สมุนไพรช่วยดูแลโรคข้อเสื่อม ลดการอักเสบ

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife






โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee Ostoearthritis) เป็นโรคที่มีกระบวนการเกิดพยาธิสภาพของข้อโดยไม่มีอาการอักเสบเป็นลักษณะของการสึกหรอร่วมกับความพยายามของร่างกายที่จะซ่อมแซมความสึกหรอที่เกิดขึ้น แต่อัตราการซ่อมแซมไม่ทันต่ออัตราการสึกหรอ เป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพของข้อเข่าทำให้ไม่สามารถทำงานได้ดีดัง เดิม โดยเฉพาะในผู้สูงอายุซึ่งร่างกายมีความเสื่อมตามอายุขัยอยู่แล้ว การเสื่อมของข้อเข่ายิ่งมีผลกระทบต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ เป็นโรคนี้







ข้อเข่าเป็นข้อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ข้อเข่าประกอบด้วยกระดูก 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คือ กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) ส่วนปลายบนที่แบนกว้าง ส่วนที่ 2 คือ กระดูกต้นขา (Femur) ส่วนปลายล่างที่เป็นส่วนต่อ และส่วนที่ 3 กระดูกสะบ้าที่รวมเป็นข้อเข่า ผิวสัมผัสบริเวณผิวหน้าของกระดูกต้นขาจะเป็นข้อสะบ้า (Patellofemeral) ช่วงระหว่างปลายกระดูกหน้าแข้ง และปลายกระดูกต้นขาจะมีกระดูกอ่อนหุ้ม เรียกว่า กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) มีลักษณะมันเรียบ ลื่น และสีขาวใส ทำหน้าที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว รับ และถ่ายทอดน้ำหนักจากปลายกระดูกข้อหนึ่งไปยังอีกกระดูกหนึ่ง



ข้อเข่าเป็นข้อที่อยู่ตรงกลางของขา ต้องรับน้ำหนักมาก มีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบบานพับ (Hinge joint) ร่วมกับการบิดหมุน (Rotation) ภายในข้อขณะที่มีการเหยียด (Extension) ของข้อเข่าจากการทำงานของกล้ามเนื้อควอทไดรเซ็บส์ (Quadriceps) และเนื่องจากการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในลักษณะดังกล่าวจึงทำให้เกิดการเสื่อม และอักเสบได้ง่าย










โรคข้อเข่าเสื่อม



ลักษณะการเกิดโรคของข้อเข่าเสื่อมจะเกิดบริเวณผิวกระดูกอ่อนของข้อเป็นหลัก ในระยะแรกมักเกิดบางส่วนของกระดูกอ่อน โดยเฉพาะจุดที่รับน้ำหนักมากที่สุด การเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนเกิดจากหลายปัจจัย เช่น น้ำหนักตัวที่มากเกินไป กระดูกอ่อนถูกกดหรือถูกใช้งานมากเกินไป ทำให้กระดูกอ่อนเปลี่ยนสภาพ กลายเป็นสีเหลือง และสีน้ำตาลขุ่น ผิวไม่เรียบและนิ่ม กระดูกอ่อนอาจหลุดร่อนออกจนเห็นเนื้อกระดูกใต้กระดูกอ่อน นอกจากนี้ ถ้ามีเศษกระดูกอ่อนหลุดออกมาในสารน้ำหล่อข้อจะทำให้ผิวข้อ (Synovial membrane) เกิดการอักเสบขึ้นได้ และใต้บริเวณกระดูกอ่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีการสร้างกระดูกใหม่เกิดขึ้น และมีเดือยกระดูก (Osteophyte) เกิดขึ้นที่ขอบของข้อ ซึ่งเกิดจากความพยายามของร่างกายในการซ่อมแซมเกิดถุงน้ำซึ่งเกิดจากน้ำหล่อ เลี้ยงข้อ (Synovial fluid) ที่จำนวนมากขึ้นจากการอักเสบที่เกิดขึ้นบนชั้นของกระดูกอ่อนใต้ผิวข้อ ต่อมาเมื่อกระดูกอ่อนเสื่อมมากขึ้นจะมีการทำลายไปถึงกระดูกแข็งที่อยู่ใต้ กระดูกอ่อน การอักเสบของผิวข้อ (Synovial membrane) ดังกล่าวจะเกิดในระยะที่โรคเป็นมากแล้วและมีการหดรั้ง (Contracture) เกิดขึ้นร่วมด้วยทำให้เกิดความพิการของข้อได้นอกจากนี้ยังเกิดการเปลี่ยน แปลงที่ส่วนอื่นของข้อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นแคปซูลที่หุ้มข้อหนาขึ้นโดยเฉพาะในรายที่โรคดำเนินไปมาก กระดูกอ่อนผิวข้อหลุดร่อนหายไปหมด เหลือแต่กระดูกที่มีลักษณะเป็นมันเลี่ยน (Eburnation) เนื่องจากผิวกระดูกซึ่งไม่มีกระดูกอ่อนคลุมจะขัดสีกันในขณะเคลื่อนไหวข้อทำ ให้เกิดอาการเจ็บปวดของข้อเข่าขึ้น และถ้ายังคงไม่มีการชะลอความเสื่อมก็จะเกิดความพิการในที่สุด



ชนิดของข้อเข่าเสื่อม

1. โรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ (Primary knee osteoarthritis) ไม่มีความผิดปกติมาก่อน แต่สัมพันธ์กับปัจจัย เช่น อายุที่เพิ่มขึ้น ความอ้วนและการใช้งานของข้อเข่า



2. โรคข้อเข่าเสื่อมทุติยภูมิ (Secondary knee osteoarthritis) เกิดจากมีความผิดปกติของกระดูกและข้อแต่กำเนิด ได้รับบาดเจ็บบริเวณผิวข้อ (Trauma) การอักเสบของโครงสร้างภายในข้อ ข้อไม่มีความมั่นคง


ข้อเข่าเสื่อมจะมีพยาธิสภาพเริ่มที่กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) ซึ่งในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงจะมีโปรตีโอไกลแคน (Proteoglycan)จำนวนลดลง ทำให้กระดูกอ่อนมีการอ่อนตัว และสูญเสียความยืดหยุ่น ผิวข้อทนต่อแรงได้น้อยลงกระดูกอ่อนผิวข้อจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองขุ่น ผิวข้อไม่เรียบ เกิดการแตกเป็นร่อง หรือกระดูกอ่อนหลุดล่อนออก เมื่อกระดูกอ่อนผิวข้อสึกกร่อนไป จะทำให้ข้อเสียความมั่นคง และมีการกระตุ้นเซลล์ของกระดูกอ่อน (Chondrocyte) ที่อยู่รอบๆข้อ และกระดูกอ่อนจะงอกขึ้นมาตามขอบของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทำให้ขัดขวางการเคลื่อนไหวของข้อ และเมื่อกระดูกอ่อนมีผิวข้อไม่เรียบ ความสามารถในการกระจายแรงของข้อตามปกติจึงเปลี่ยนไป ส่งผลให้มีอาการปวดขึ้น ส่วนอาการข้อฝืดเกิดจากเยื่อบุข้อหลั่งน้ำเลี้ยงข้อมากขึ้น ซึ่งน้ำเลี้ยงข้อมีไฮอะลูโรเนท (Hyalrulonate) มากผิดปกติทำให้เกิดความหนืดสูง ประกอบกับถุงหุ้มข้อหนาขึ้นและหดแคบ ผลที่ตามมาคือข้อฝืด และการเคลื่อนไหวได้ลดลง

BIM100 น้ำมังคุด รู้ทันโรคข้อเข่าอักเสบ ข้อเข่าเสื่อม โทร 088 826 4444





BIM100 น้ำมังคุด รู้ทันโรคข้อเข่าอักเสบ ข้อเข่าเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife



โรคข้อเข่าเสื่อม

        โรคข้อเข่าเสื่อม คือ โรคที่เกิดจากการสึกกร่อนของกระดูกอ่อนผิวข้อ ซึ่งเป็นผลมาจากอายุที่เพิ่มขึ้นและการใช้งานมาก เมื่อมีการใช้งานผิวข้อที่สึกจะมีการขัดสีกัน ทำให้เกิดอาการปวดข้อเข่าตามมา







มีปัจจัยเสี่ยงอะไรบ้าง

        1.  อายุ การเกิดข้อเข่าเสื่อมจะพบมากตามอายุที่เพิ่มขึ้น

        2.  เพศ พบในเพศหญิงบ่อยกว่าเพศชาย

        3.  พันธุกรรม อาจมีคนในครอบครัวเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมร่วมด้วย

        4.  ภาวะอ้วน น้ำหนักตัวที่มากขึ้น ทำให้ข้อเข่าต้องรับน้ำหนักและแรงกดทับมากขึ้น

        5.  การได้รับบาดเจ็บ เช่น การมีเอ็นไขว้หรือหมอนรองกระดูกเข่าฉีกขาด หรือมีกระดูกผิวข้อแตก



อาการและอาการแสดงเป็นอย่างไร

        1.  อาการปวด เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด มักปวดมากขึ้นเมื่อใช้งานและลดลงหลังจากการพัก

        2.  ข้อยึดติด ถ้าเป็นมาก มุมของการเหยียดงอเข่าจะลดลง เคลื่อนไหวในชีวิตประจำวันลำบาก

        3.  ข้อบวม อาจพบเป็นๆ หายๆ เกิดจากเยื่อบุข้อ มีการอักเสบหรือมีการสร้างน้ำไขข้อเพิ่มขึ้น

        4.  มีเสียงหรือมีความรู้สึกว่ากระดูกเสียดสีกันเวลาเคลื่อนไหวข้อ

        5.  ถ้าเป็นรุนแรง ข้อจะผิดรูป ขาโก่ง

        6.  ข้อหลวม รู้สึกไม่มั่นคงเวลายืนหรือเดิน เนื่องจากเอ็นรอบๆ ข้อหย่อน

        7.  กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อมีขนาดเล็กลงและไม่มีแรง










มีวิธีการรักษาอย่างไร และสามารถรักษาให้หายขาดได้หรือไม่

        ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมอาการได้ โดยจุดมุ่งหมายในการรักษา คือ ช่วยบรรเทาอาการปวด ช่วยให้หน้าที่การใช้งานของข้อกลับคืนสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติมากที่สุด และป้องกันหรือแก้ไขการผิดรูปของข้อ วิธีการรักษาจะแตกต่างกันไปในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ ความรุนแรงของโรค การใช้งานที่คาดหวังและความพร้อมของผู้ให้การรักษา

    การรักษามีแนวทางหลัก 2 วิธี ได้แก่ การรักษาโดยวิธีการไม่ผ่าตัด และการรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด



การรักษาด้วยวิธีการไม่ผ่าตัด

        1. การปรับเปลี่ยนการใช้งานในชีวิตประจำวัน ได้แก่

            -  การพักหรือใช้งานข้อให้น้อยลง หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินเป็นระยะเวลานาน

            -  หลีกเลี่ยงการนั่งงอเข่า เช่น คุกเข่า พับเพียบ ยองๆ ขัดสมาธิ หรือนั่งเก้าอี้ต่ำ

            -  หลีกเลี่ยงการเดินขึ้นลงบันไดโดยไม่จำเป็น ถ้าจำเป็นควรเดินช้าๆ และขึ้นลงทีละขั้น

            -  หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งท่าเดียวนานๆ ควรเปลี่ยนท่าหรือขยับข้อเข่าอยู่เรื่อยๆ

            -  นั่งถ่ายบนโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอห่านแทนการนั่งยองๆ ควรทำราวจับบริเวณโถนั่งเพื่อใช้ช่วยพยุงตัวเวลาจะนั่งหรือยืน



        2.  ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมาก ควรลดน้ำหนักอย่างถูกต้อง

        3.  การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุงเดิน เช่น ไม้เท้า ไม้ค้ำยัน จะช่วยลดแรงที่เกิดกับข้อได้

        4.  ที่นอนควรมีความสูงระดับเข่า ไม่ควรนอนบนพื้น เพราะจะปวดมากเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น

        5.  การประคบอุ่นบริเวณข้อเข่า ช่วยลดอาการปวดและกล้ามเนื้อเกร็งได้

        6.  การสวมสนับเข่า ในกรณีที่ข้อเข่าเสียความมั่นคง จะช่วยกระชับข้อและลดอาการปวด

        7.  การทำกายภาพบำบัด ได้แก่ การฝึกความแข็งแรงและความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อรอบข้อ การเพิ่มหรือคงไว้ซึ่งพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อ และการเพิ่มสมรรถภาพของร่างกาย

        8.  การใช้ยา ปัจจุบันมียาหลายกลุ่มที่ใช้รักษาโรคข้อเสื่อม ไก้แก่

            -  ยาแก้ปวดพาราเซตามอล เป็นยากลุ่มแรกที่ใช้ในการควบคุมอาการ

            -  ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ช่วยลดอาการปวดและการอักเสบของข้อ

            -  ยาช่วยปรับเปลี่ยนโครงสร้างของข้อ เช่น กลูโคซามีนซัลเฟต จะช่วยชะลอโรค ซ่อมแซมผิวข้อ ลดการอักเสบและอาการปวด เป็นยาทางเลือกในข้อเสื่อมระยะเริ่มต้น

            -  ยาทาภายนอก ช่วยลดอาการโดยไม่ต้องเสี่ยงกับผลข้างเคียงจากยารับประทาน

            -  การฉีดน้ำเลี้ยงไขข้อ เป็นทางเลือกในการช่วยลดอาการปวดและช่วยให้การเคลื่อนไหวข้อดีขึ้น

            -  การฉีดสเตียรอยด์เข้าข้อ เป็นทางเลือกในข้อเสื่อมรุนแรงที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาวิธีอื่น

BIM100 เคล็ดลับดูแลสุขภาพโรคข้อเข่าเสื่อม โทร 088 826 4444





BIM100 เคล็ดลับดูแลสุขภาพโรคข้อเข่าเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife




โรคข้อเข่าเสื่อม


โรคข้อเข่าเสื่อม คือ ภาวะที่กระดูกอ่อนผิวข้อเข่า มีการสึกหรอและเสื่อมอย่างช้าๆและจะ เป็นมากขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า เข่าบวม ข้อยึดติด มีเสียงดังในเข่า เข่าผิดรูปไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ

โรคข้อเข่าเสื่อมนี้เกิดจากการเสื่อมตามอายุขัยส่วนใหญ่ เกิดกับข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อกระดูกสันหลัง ปัญหาปวดเข่าพบได้มากในผู้สูงอายุหญิงมากกว่าชาย เนื่องจากขนบธรรมเนียมไทยที่ต้องนั่งคุกเข่าพับเพียบ ขัดสมาธิ ซึ่งเป็นท่าที่ทำให้ข้อเข่าถูกกดพับ และเอ็นกล้ามเนื้อถูกยึดมาก การนั่งเช่นนั้นนานๆ ทำให้การหมุนเวียนของเลือดไปเลี้ยงเข่าไม่ได้ดี และเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุไม่ค่อยชอบออกกำลังกาย อีกทั้งต้องทำงานหนักไม่มีการพัก ประกอบกับน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ทำให้เข่าต้องแบกน้ำหนักส่วนเกินนั้น กล้ามเนื้อจึงหย่อนสมรรถภาพลง จึงทำให้เป็นโรคเข่าเสื่อมได้ง่าย

สาเหตุหลักๆ ได้แก่

1. เป็นผลจากความเสื่อม และการใช้เข่าที่ไม่ถูกต้องมานาน

2. ความอ้วน น้ำหนักตัวมากๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนักเพิ่มขึ้น

3. เคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณเข่ามาก่อน เช่น กระดูกบริเวณเข่าหัก, ข้อเข่าเคลื่อนหลุด, เส้นเอ็นฉีกขาด หรือหมอนรองเข่าฉีกขาด

4. โรคข้ออักเสบ เช่น โรคเก๊าท์ หรือโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นต้น





อาการเริ่มแรกที่เตือนให้รู้ว่าเข่ากำลังมีปัญหา

เจ็บปวด เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด อาจเป็นปวดแบบเมื่อยๆ พอทน ปวดแบบเป็นๆ หายๆ หรือในรายที่เข่าได้รับบาดเจ็บ จะปวดแบบเฉียบพลันและปวดรุนแรง

เข่าบวม เข่าที่บวมทันทีภายหลังจากได้รับบาดเจ็บ มักเกิดจากมีเลือดออกภายในข้อเข่า บวมที่เกิดขึ้นช้าๆ มักเกิดจากมีความผิดปกติขององค์ประกอบภายในข้อเอง

เข่าอ่อนหรือเข่าสะดุดติด อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ แต่ที่พบบ่อยคือ เกิดจากมีบางสิ่งบางอย่างภายในข้อ ทำให้งอ หรือเหยียดเข่าในทันทีทันใดไม่ได้ เช่น เส้นเอ็นหรือกระดูกอ่อนที่ฉีกขาด หรือเศษกระดูกที่หยุดอยู่ในข้อ













เข่าฝืดหรือยึดติด อาจเป็นเฉพาะบางช่วงเวลาของวัน เช่น ตอนเช้าหลังตื่นนอน นั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น หรือเกิดขึ้นภายหลังจากได้รับบาดเจ็บที่ข้อเข่า

เมื่อปรากฎอาการดังกล่าวแล้วแสดงว่า ท่านเริ่มมีปัญหาของข้อเข่า ควรให้ความสนใจอย่างจริงจัง และพิจารณาดูว่า มีอะไรเป็นสาเหตุดังกล่าว จะเป็นต้องเริ่มต้นฝึกออกกำลังกล้ามเนื้อของข้อเข่าให้แข็งแรงขึ้น ซึ่งเป็นวิธีเดียวที่จะให้หลักประกันได้ว่า ท่านจะสามารถยืนและเดินอยู่บนขา และเข่าของตนเองได้ตลอดไป

วันที่ 3 วิธีป้องกันและการปฏิบัติ

- ควบคุมไม่ให้อ้วนเกินไป โดยการควบคุมอาหารและออกกำลังกาย

- บริหารกล้ามเนื้อรอบๆ ข้อนั้นให้แข็งแรง (วิธีการบริหารดูในการออกกำลังกาย)

- ลดการใช้งานข้อนั้นในท่าที่ผิดจากธรรมชาติ เช่น การนั่งยองๆ การนั่งพับเพียบ คุกเข่าและการนั่งขัดสมาธินานเกินไป เป็นต้น

- ขณะที่มีอาการปวด ควรรีบปรึกษาแพทย์ เพื่อให้การรักษาภาวะอักเสบของข้อ แล้วเริ่มทำกายภาพบำบัดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้

- อาการปวดเริ่มแรกสามารถบรรเทาด้วยยาแก้ปวดพาราเซตามอล, การใช้กระเป๋าน้ำร้อนประคบจะช่วยลดการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ ขณะที่มีอาการปวดอยู่ควรหลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได หลีกเลี่ยงการยืนหรือเดินมาก ถ้าเดินควรใช้ไม้เท้าช่วยพยุงตัวเวลาเดินและใส่สนับเข่าเพื่อช่วยให้ข้อเข่ากระชับ

- ควรหลีกเลี่ยงการนั่งกับพื้น เช่น การนั่งพับเพียบ คุกเข่า ขัดสมาธิและนั่งยองๆ ควรนั่งเก้าอี้ห้อยขา หรือนั่งเหยียดขาตรง อย่านั่งนานๆ ควรเปลี่ยนอริยาบถบ่อยๆ และควรใช้โถส้วมแบบนั่งแทนแบบนั่งยองๆ

- ลดน้ำหนักเพื่อลดแรงกดกระแทกที่ข้อเข่าเวลาเดินหรือยืน

- บริหารกล้ามเนื้อรอบเข่าอย่างสม่ำเสมอ

- ถ้าอาการไม่ทุเลาควรปรึกษาแพทย์



อาการของโรคข้อเข่าเสื่อม

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบในผู้ป่วยสูงอายุ แต่ผู้ป่วยที่มีโรคข้อเรื้อรังเช่นโรครูมาตอยด์ โรคเกาต์ หรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่า ก็อาจจะเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในขณะที่อายุยังไม่มาก โดยเฉพาะคุณผู้หญิงจะมีโอกาสเป็นข้อเสื่อมได้มากกว่าผู้ชาย เนื่องจาก ความ แข็ง แรงของกระดูกและกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ชาย อาการที่สำคัญได้แก่ อาการปวดเข่า เป็นอาการ ที่สำคัญเริ่มแรกจะ ปวดเมื่อยตึงทั้ง ด้าน หน้าและด้านหลังของเข่าหรือบริเวณน่อง เมื่อเป็นมากขึ้นจะปวดบริเวณเข่าเมื่อมีการเคลื่อนไหว ลุกนั่งหรือเดินขึ้นบันได ไม่คล่อง เหมือนเดิม

• มีเสียงในข้อ เมื่อเคลื่อนไหวผู้ป่วยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า

• อาการบวม ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม

ข้อเข่าโก่งงอ อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน ทำให้ขาสั้นลงเดินลำบากและมีอาการปวดเวลาเดิน

• ข้อเข่ายึดติด ผู้ป่วยจะไม่สามารถเหยียดหรืองอขาได้สุดเหมือนเดิมเนื่องจากมีการยึดติดภายในข้อ

BIM100 ดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้อเสื่อม โทร 088 826 4444






BIM100 ดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้อเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife



รคข้อเข่าเสื่อม Osteoarthritis of the knee


ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน เกิดการเสื่อมของข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูกเวลาเดินจะเจ็บข้อ มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง คุณภาพชีวิตลดลง และทำให้โรคอื่นๆกำเริบ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังไม่ได้





 

โครงสร้างของข้อเข่า



ข้อเข่าของคนประกอบไปด้วยกระดูก 3 ส่วนคือ



กระดูกต้นขา Femur ซึ่งเป็นกระดูกส่วนบนของเข่า

กระดูกหน้าแข็ง Tibia ซึ่งเป็นกระดูกส่วนล่างของเข่า

กระดูกสะบ้า Patella ซึ่งอยู่ส่วนหน้าของเข่า

ผิวของข้อเข่าจะมีกระดูกอ่อน cartilage รูปครึ่งวงกลมหุ้ม ทำหน้าที่กระจายน้ำหนัก ในข้อเข่าจะมีน้ำเลี้ยง synovial fluid เปรียบเสมือนน้ำหล่อลื่น เป็นการป้องกันการสึกของข่อเข่า เมื่อเราเดินหรือวิ่ง ข้อของเราจะต้องรับน้ำหนักเพิ่ม ดังนั้นยิ่งน้ำหนักตัวมากเท่าใดข้อต้องรับน้ำหนักมากเท่านั้น นอกจากนั้นยังมีเอ็นและกล้ามเนื้อที่ทำให้ข้อเข่าแข็งแรง











กลไกการเกิดข้อเข่าเสื่อม


ข้อเข่าเสื่อมหมายถึงการที่กระดูกอ่อนของเข่ามีการเสื่อมสภาพ ทำให้กระดูกอ่อนไม่สามารถเป็นเบาะรองรับน้ำหนัก และมีการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำหล่อเลี้ยงเข่า เมื่อมีการเคลื่อนไหวของข้อเข่า ก็จะเกิดการเสียดสี และเกิดการสึกหรอของกระดูกอ่อน ผิวของกระดูกอ่อนจะแข็ง ไม่เรียบ เมื่อข้อเข่าเคลื่อนไหวจะเกิดเสียงดังในข้อ เกิดอาการเจ็บปวด หากข้อเข่ามีการอักเสบก็จะมีการสร้างน้ำข้อเข่าเพิ่มทำให้เกิดการบวม ตึง และปวดข้อเข่า



เมื่อมีการเสื่อมมากขึ้น ข้อเข่าก็จะมีการโก่งงอ ทำให้เกิดอาการปวดเข่าทุกครั้งที่มีการเคลื่อนไหว และขนาดของจ้อเข่าก็มีขนาดใหญ่ขึ้น ในที่สุดผู้ป่วยต้องใช้ไม้เท้าช่วยในการเดิน บางท่านไม่เดินทำให้กล้ามเนื้อต้นขาลีบและไม่มีกำลัง ข้อจะติดเหมือนมีสนิมเกาะเท้าจะเหยียดไม่สุด



เมื่อข้อเข่าเสื่อมมากขึ้น กระดูกอ่อนจะมีขนาดบางลง ผิวจะขรุขระ จะมีการงอกของกระดูกขึ้นมาเรียกว่า osteophyte เมื่อมีการอักเสบเยื่อหุ้มข้อจะสร้างน้ำเลี้ยงข้อเพิ่ม ทำให้ข้อมีขนาดใหญ่เพิ่มมากขึ้น กล้ามเนื้อลีบลง การเปลี่ยนแปลงของข้อจะเป็นไปอย่างช้าๆ โดยที่ผู้ป่วยไม่ทราบ ในรายที่เป็นรุนแรงกระดูกอ่อนจะบางมาก ปลายกระดูกจะมาชนกันเวลาขยับข้อจะเกิดการเสียดสีในข้อ

วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560

บิม100 แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม โทร 088 826 4444







บิม100 แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife






โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee Ostoearthritis) เป็นโรคที่มีกระบวนการเกิดพยาธิสภาพของข้อโดยไม่มีอาการอักเสบเป็นลักษณะของการสึกหรอร่วมกับความพยายามของร่างกายที่จะซ่อมแซมความสึกหรอที่เกิดขึ้น แต่อัตราการซ่อมแซมไม่ทันต่ออัตราการสึกหรอ เป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงต่อสภาพของข้อเข่าทำให้ไม่สามารถทำงานได้ดีดัง เดิม โดยเฉพาะในผู้สูงอายุซึ่งร่างกายมีความเสื่อมตามอายุขัยอยู่แล้ว การเสื่อมของข้อเข่ายิ่งมีผลกระทบต่อทั้งร่างกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ เป็นโรคนี้









ข้อเข่าเป็นข้อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ข้อเข่าประกอบด้วยกระดูก 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คือ กระดูกหน้าแข้ง (Tibia) ส่วนปลายบนที่แบนกว้าง ส่วนที่ 2 คือ กระดูกต้นขา (Femur) ส่วนปลายล่างที่เป็นส่วนต่อ และส่วนที่ 3 กระดูกสะบ้าที่รวมเป็นข้อเข่า ผิวสัมผัสบริเวณผิวหน้าของกระดูกต้นขาจะเป็นข้อสะบ้า (Patellofemeral) ช่วงระหว่างปลายกระดูกหน้าแข้ง และปลายกระดูกต้นขาจะมีกระดูกอ่อนหุ้ม เรียกว่า กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) มีลักษณะมันเรียบ ลื่น และสีขาวใส ทำหน้าที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว รับ และถ่ายทอดน้ำหนักจากปลายกระดูกข้อหนึ่งไปยังอีกกระดูกหนึ่ง



ข้อเข่าเป็นข้อที่อยู่ตรงกลางของขา ต้องรับน้ำหนักมาก มีลักษณะการเคลื่อนไหวแบบบานพับ (Hinge joint) ร่วมกับการบิดหมุน (Rotation) ภายในข้อขณะที่มีการเหยียด (Extension) ของข้อเข่าจากการทำงานของกล้ามเนื้อควอทไดรเซ็บส์ (Quadriceps) และเนื่องจากการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในลักษณะดังกล่าวจึงทำให้เกิดการเสื่อม และอักเสบได้ง่าย








โรคข้อเข่าเสื่อม



ลักษณะการเกิดโรคของข้อเข่าเสื่อมจะเกิดบริเวณผิวกระดูกอ่อนของข้อเป็นหลัก ในระยะแรกมักเกิดบางส่วนของกระดูกอ่อน โดยเฉพาะจุดที่รับน้ำหนักมากที่สุด การเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนเกิดจากหลายปัจจัย เช่น น้ำหนักตัวที่มากเกินไป กระดูกอ่อนถูกกดหรือถูกใช้งานมากเกินไป ทำให้กระดูกอ่อนเปลี่ยนสภาพ กลายเป็นสีเหลือง และสีน้ำตาลขุ่น ผิวไม่เรียบและนิ่ม กระดูกอ่อนอาจหลุดร่อนออกจนเห็นเนื้อกระดูกใต้กระดูกอ่อน นอกจากนี้ ถ้ามีเศษกระดูกอ่อนหลุดออกมาในสารน้ำหล่อข้อจะทำให้ผิวข้อ (Synovial membrane) เกิดการอักเสบขึ้นได้ และใต้บริเวณกระดูกอ่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะมีการสร้างกระดูกใหม่เกิดขึ้น และมีเดือยกระดูก (Osteophyte) เกิดขึ้นที่ขอบของข้อ ซึ่งเกิดจากความพยายามของร่างกายในการซ่อมแซมเกิดถุงน้ำซึ่งเกิดจากน้ำหล่อ เลี้ยงข้อ (Synovial fluid) ที่จำนวนมากขึ้นจากการอักเสบที่เกิดขึ้นบนชั้นของกระดูกอ่อนใต้ผิวข้อ ต่อมาเมื่อกระดูกอ่อนเสื่อมมากขึ้นจะมีการทำลายไปถึงกระดูกแข็งที่อยู่ใต้ กระดูกอ่อน การอักเสบของผิวข้อ (Synovial membrane) ดังกล่าวจะเกิดในระยะที่โรคเป็นมากแล้วและมีการหดรั้ง (Contracture) เกิดขึ้นร่วมด้วยทำให้เกิดความพิการของข้อได้นอกจากนี้ยังเกิดการเปลี่ยน แปลงที่ส่วนอื่นของข้อได้อีก ไม่ว่าจะเป็นแคปซูลที่หุ้มข้อหนาขึ้นโดยเฉพาะในรายที่โรคดำเนินไปมาก กระดูกอ่อนผิวข้อหลุดร่อนหายไปหมด เหลือแต่กระดูกที่มีลักษณะเป็นมันเลี่ยน (Eburnation) เนื่องจากผิวกระดูกซึ่งไม่มีกระดูกอ่อนคลุมจะขัดสีกันในขณะเคลื่อนไหวข้อทำ ให้เกิดอาการเจ็บปวดของข้อเข่าขึ้น และถ้ายังคงไม่มีการชะลอความเสื่อมก็จะเกิดความพิการในที่สุด



ชนิดของข้อเข่าเสื่อม

1. โรคข้อเข่าเสื่อมปฐมภูมิ (Primary knee osteoarthritis) ไม่มีความผิดปกติมาก่อน แต่สัมพันธ์กับปัจจัย เช่น อายุที่เพิ่มขึ้น ความอ้วนและการใช้งานของข้อเข่า



2. โรคข้อเข่าเสื่อมทุติยภูมิ (Secondary knee osteoarthritis) เกิดจากมีความผิดปกติของกระดูกและข้อแต่กำเนิด ได้รับบาดเจ็บบริเวณผิวข้อ (Trauma) การอักเสบของโครงสร้างภายในข้อ ข้อไม่มีความมั่นคง


ข้อเข่าเสื่อมจะมีพยาธิสภาพเริ่มที่กระดูกอ่อนผิวข้อ (Articular cartilage) ซึ่งในระยะแรกของการเปลี่ยนแปลงจะมีโปรตีโอไกลแคน (Proteoglycan)จำนวนลดลง ทำให้กระดูกอ่อนมีการอ่อนตัว และสูญเสียความยืดหยุ่น ผิวข้อทนต่อแรงได้น้อยลงกระดูกอ่อนผิวข้อจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองขุ่น ผิวข้อไม่เรียบ เกิดการแตกเป็นร่อง หรือกระดูกอ่อนหลุดล่อนออก เมื่อกระดูกอ่อนผิวข้อสึกกร่อนไป จะทำให้ข้อเสียความมั่นคง และมีการกระตุ้นเซลล์ของกระดูกอ่อน (Chondrocyte) ที่อยู่รอบๆข้อ และกระดูกอ่อนจะงอกขึ้นมาตามขอบของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทำให้ขัดขวางการเคลื่อนไหวของข้อ และเมื่อกระดูกอ่อนมีผิวข้อไม่เรียบ ความสามารถในการกระจายแรงของข้อตามปกติจึงเปลี่ยนไป ส่งผลให้มีอาการปวดขึ้น ส่วนอาการข้อฝืดเกิดจากเยื่อบุข้อหลั่งน้ำเลี้ยงข้อมากขึ้น ซึ่งน้ำเลี้ยงข้อมีไฮอะลูโรเนท (Hyalrulonate) มากผิดปกติทำให้เกิดความหนืดสูง ประกอบกับถุงหุ้มข้อหนาขึ้นและหดแคบ ผลที่ตามมาคือข้อฝืด และการเคลื่อนไหวได้ลดลง


บิม100 ดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้ออักเสบ โทร 094 709 4444







บิม100 ดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม ข้ออักเสบ 

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife








โรคเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบในผู้ที่สูงอายุ แต่ก็สามารถพบในผู้ที่มีอายุน้อยซึ่งจะพบในผู้ที่มีโรคข้อเรื้อรัง เช่น โรครูมาตอยด์ โรคเก๊าท์ หรือผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่า โดยมากผู้หญิงจะมีโอกาศเป็นข้อเสื่อมได้มากกว่าผู้ชาย เนื่องจากความแข็งแรงของกระดูก และกล้ามเนื้อน้อยกว่าผู้ชาย

อาการที่สำคัญของข้อเสื่อม



ข้อเข่าผิดรูปอาการปวดเข่า เป็นอาการที่สำคัญ เริ่มแรกจะปวดเมื่อยตึงด้านหน้า และด้านหลังของเข่า หรือบริเวณน่อง เมื่อเป็นมากจะปวดเข่าเมื่อเคลื่อนไหว ลุกนั่ง หรือเดินขึ้นบันไดไม่คล่องเหมือนเดิม

มีเสียงในข้อ เมื่อเคลื่อนไหวผู้ป่วยจะรู้สึกมีเสียงในข้อและปวดเข่า

อาการบวม ถ้าข้อมีการอักเสบก็จะเกิดข้อบวม

ข้อเข่าโก่งงอ อาจจะโก่งด้านนอกหรือโก่งด้านใน ทำให้ขาสั้นลงเดินลำบากและมีอาการปวดเวลาเดิน

ข้อเข่ายึดติด ผู้ป่วยจะไม่สามารถเหยียดหรืองอขาได้สุดเหมือนเดิมเนื่องจากมีการยึดติดภายในข้อ









ปัจจัยที่ทำให้เกิดข้อเสื่อม

อายุ อายุมากมีโอกาสเป็นมากเนื่องจากอายุการใช้งานมาก

เพศหญิงจะเป็นโรคเข่าเสื่อมมากกว่าผู้ชาย 2 เท่า

น้ำหนัก ยิ่งน้ำหนักตัวมากข้อเข่าจะเสื่อมเร็ว

การใช้ข้อเข่า ผู้ที่นั่งยองๆ นั่งขัดขัดสมาธิ หรือนั่งพับเพียบนานๆจะพบข้อเข่าเสื่อมเร็ว

การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อเข่า ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุที่ข้อเข่าไม่ว่าจะกระดูกข้อเข่าแตกหรือเอ็นฉีก จะเกิดข้อเข่าเสื่อได้

ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและกระดูก ผู้ที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและได้รับแคลเซียมในปริมาณที่พอเพียงจะชะลอการเสื่อมของเข่า

ข้อเข่าเสื่อมแพทย์จะวินิจฉัยข้อเข่าเสื่อมได้อย่างไร หากท่านมีอาการปวดเข่าเรื้องรัง เมื่อไปพบแพทย์หากสงสัยว่าเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมแพทย์ก็จะมีขั้นตอนการวินิจฉัยดังนี้



ซักประวัติและตรวจร่างกายโดยเน้นทีการตรวจข้อเข่า ซึ่งอาจจะพบลักษณะที่สำคัญคือ ข้อบวม หรือขนาดข้อใหญ่และมีการงอของข้อเข่า

การถ่ายภาพรังสี ก็จะพบว่าช่องว่างระหว่างกระดูกเข่าแคบลงซึ่งหมายถึงกระดูกอ่อนมีการสึกหรอ หากสึกมากก็ไม่พบช่องว่างดังกล่าว

การเจาะเลือด เพื่อวินิจฉัยแยกโรคที่อาจจะเป็นสาเหตุของโรคปวดเข่าเรื้อรัง เช่น โรคเกาต์ หรือโรครูมาตอยด์

การตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า ในกรณีที่เข่าบวมแพทย์จะเยาะเอาน้ำหล่อเลี้ยงเข่าออกมาตรวจด้วยกล้องจุลทัศน์

การตรวจความหนาแน่นของกระดูก เป็นการตรวจหาโรคกระดูกพรุน

ข้อเข่าเสื่อม อาการข้อเข่าเสื่อม การรักษาข้อเข่าเสื่อม

แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม บิมร้อย อาหารเสริมดูแลสุขภาพ โทร 088 826 4444






แนวทางดูแลสุขภาพโรคข้อเสื่อม บิมร้อย อาหารเสริมดูแลสุขภาพ

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife








โรคข้อเข่าเสื่อมและวิธีการถนอมข้อเข่าเทียม




โรคข้อเข่าเสื่อมและวิธีการถนอมข้อเข่าเทียม



หมายถึง โรคที่เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทั้งทางด้านรูปร่าง โครงสร้าง การท้างานของกระดูกข้อต่อและกระดูกบริเวณใกล้ข้อ การเปลี่ยน แปลงที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมและอาจมีความเสื่อมรุนแรงขึ้นตามลำดับ







สาเหตุความเสื่อมของข้อเข่า



คามเสื่อมแบบปฐมภูมิ หรือไม่ทราบสาเหตุ เป็นภาวะที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของผิวกระดูกอ่อนตามวัย



ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อควำมเสื่อมของข้อเข่า ได้แก่





อายุ พบว่า อายุ 40 ปี เริ่มมีข้อเสื่อม อายุ 60 ปี เป็นข้อเข่าเสื่อมได้ถึงร้อยละ 40

เพศ ผู้หญิงพบมากกว่าผู้ชาย 2-3 เท่า ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อของร่างกาย

น้ำหนักตัวที่เกิน น้ำหนักตัวมีความสัมพันธ์อย่างมากกับเข่าเสื่อม พบว่าน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 0.5 กิโลกรัม จะเพิ่มแรงที่กระทำต่อข้อเข่า 1-1.5 กิโลกรัม ขณะเดียวกันเซลล์ไขมันที่มากเกินไปจะมีผลต่อเซลล์กระดูกอ่อนและเซลล์กระดูก ส่งผลให้ข้อเสื่อมเร็วขึ้น

การใช้งาน ท่าทาง กิจกรรมที่มีแรงกดต่อข้อเข่ามาก เช่น การนั่งคุกเข่า พับเพียบ ขัดสมาธิ ขึ้นลงบันไดบ่อยๆ เป็นต้น

ความบกพร่องของส่วนประกอบของข้อ เช่น ข้อเข่าหลวมกล้ามเนื้อต้นขาอ่อนแรง

กรรมพันธุ์ โรคข้อเข่าเสื่อมมีหลักฐานการถ่ายทอดทางพันธุกรรมน้อยกว่าที่ข้อนิ้วมือเสื่อม



ความเสื่อมแบบทุติยภูมิ เป็นความเสื่อมที่ทราบสาเหตุ เช่น เคยประสบอุบัติเหตุมีการบาดเจ็บที่ข้อ เส้นเอ็น การบาดเจ็บเรื้อรังที่บริเวณข้อเข่าจากการทำงานหรือการเล่นกีฬา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เก๊าท์ ข้ออักเสบติดเชื้อ โรคของต่อมไร้ท่อ เช่น อ้วน เป็นต้น





อาการ และอาการแสดงของโรคข้อเข่าเสื่อม



อาการในระยะแรก เริ่มปวดเข่าเวลามีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน ขึ้นลงบันได หรือนั่งพับเข่า อาการจะดีขึ้นเมื่อหยุดพักการใช้ข้อ ร่วมกับมีอาการข้อฝืดขัดโดยเฉพาะเมื่อหยุดการเคลื่อนไหวเป็นเวลานาน เมื่อขยับข้อจะรู้สึกถึงการเสียดสีของกระดูกหรือมีเสียงดังในข้อ





เมื่อมีภาวะข้อเสื่อมรุนแรง อาการปวดจะรุนแรงมากขึ้น บางครั้งปวดเวลากลางคืน อาจคลำส่วนกระดูกงอกได้บริเวณด้านข้างข้อ เมื่อเกร็งกล้ามเนื้อต้นขาเต็มที่จะมีอาการปวดหรือเสียวบริเวณกระดูกสะบ้า หากมีการอักเสบจะมีข้อบวม ร้อน และตรวจพบน้ำในช่องข้อ ถ้ามีข้อเสื่อมมานานจะพบว่า เหยียดหรืองอข้อเข่าได้ไม่ค่อยสุด กล้ามเนื้อต้นขาลีบ ข้อเข่าโก่ง หลวม หรือบิดเบี้ยวผิดรูป ท้าให้เดินและใช้ชีวิตประจ้าวันล้าบาก และมีอาการปวดเวลาเดินหรือขยับ








เกณฑ์การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม



มีอาการปวดเข่า

ภาพรังสีแสดงกระดูกงอก

มีข้อสนับสนุน 1 ข้อ ดังต่อไปนี้



           3.1 อายุเกิน 50 ปี



           3.2 อาการฝืดแข็งในตอนเช้านานน้อยกว่า 30 นาที



           3.3 มีเสียงกรอบแกรบขณะเคลื่อนไหวเข่า จากการเสียดสีของเยื่อบุภายในข้อ หรือ







วิธีการถนอมข้อเข่าเทียม



ถึงแม้ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเทียมแล้ว ก็ยังคงต้องดูแลตนเองเพื่อถนอมข้อเทียมให้ยาวนาน โดยกำรปฏิบัติตัวเช่นเดียวกับผู้ที่มีอำการข้อเข่าเสื่อม ดังต่อไปนี้





1.อิริยาบถในชีวิตประจำวัน โดย หลีกเลี่ยงอิริยาบถที่มีแรงกด ที่ข้อ



-นั่งพับเพียบ คุกเข่า ขัดสมาธิ นั่งยองๆ นั่งเก้าอี้เตี้ย นั่งไขว่ห้าง ไขว้ขา การบิดหมุนเข่าไม่ว่ากรณีใดๆ

-ขึ้นลงบันไดโดยไม่จำเป็น

-การยกหรือแบกของหนักๆ

-การใช้หมอนรองใต้เข่าเป็นเวลานานๆ ขณะนอน เพราะจะท้าให้การไหลเวียนเลือดที่ใต้ข้อพับเข่าเป็นไปได้ไม่สะดวก และข้อเข่าอาจตึงยึดเอ็นที่หนาตัวขึ้น ตลอดจนความขรุขระของกระดูกอ่อนที่บุปลายหัวกระดูก



2.การจัดสิ่งแวดล้อมภายในบ้าน



-บริเวณบ้านควรจัดให้โล่ง สว่าง ไม่มีสิ่งกีดขวางบนทางเดิน เพื่อกันการสะดุดล้มลง

-ถ้าจำเป็นต้องขึ้นลงบันได ควรมีราวจับทั้ง 2 ด้านของบันได

-ส้วมเป็นแบบชักโครก

-ภายในห้องน้ำควรใช้วัสดุกันลื่น มีราวจับ

-ควรจัดเก้าอี้สำหรับนั่งอาบน้ำจะช่วยเพิ่มความปลอดภัยและสะดวกสบายขณะอาบน้ำ

-หลีกเลี่ยงการลงไปอาบในอ่างอาบน้ำ เพราะอาจลื่นล้มได้ง่าย