วันอาทิตย์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

ป้องกันไว้ก่อนจะสาย รู้ทันโรคเส้นเลือดในสมองตีบ ความดัน เบาหวาน โทร 094 ...





ป้องกันไว้ก่อนจะสาย หลินจือมิน รู้ทันโรคเส้นเลือดในสมองตีบ ความดัน เบาหวาน

รายละเอียดเพิ่มเติม   http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia) คือ โรคที่มีระดับไขมันในเลือดสูงกว่าค่าที่ถูกกำ หนดขึ้น ซึ่งค่าปกตินี้ได้มาโดยการเก็บข้อมูลทางสถิติของระดับไขมันในเลือดของคนทั่วไป โดยพบว่าเมื่อมีค่าเกินระดับหนึ่งแล้วบุคคลนั้นๆก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและตามมาคือโรคหัวใจขาดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจตาย) การที่บุคคลใดควรจะมีระดับไขมันเท่าใด และจะเลือกการรักษาแบบไหนขึ้นอยู่กับว่ามีความเสี่ยงอื่นๆร่วมด้วยอีกกี่ความเสี่ยง ดังนั้นการกำหนดระดับไขมันในแต่ละคนจึงอาจไม่เท่ากัน

โดยรวมโรคนี้พบในคนเชื้อชาติตะวันตกมากกว่าคนเชื้อชาติเอเชีย และพบในคนที่อาศัยในเขตเมืองมากกว่าในเขตชนบท สำหรับในประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติไม่ได้เก็บรวบ รวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีโรคไขมันในเลือดสูง แต่อย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มที่โรคนี้จะพบมากขึ้นเรื่อย ๆสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตและการบริโภคเป็นสำคัญ

ไขมันมีกระบวนการเมตาบอลิซึมอย่างไร?

ไขมันในเลือดสูง

กระบวนการเมตาบอลิซึม (Metabolism, กระบวนการทางเคมีเพื่อนำสารต่างๆไปใช้เพื่อ ให้เกิดพลังงานใช้ในการเจริญเติบโตของเซลล์) ของไขมันเริ่มจากเมื่อเรารับประทานอาหารที่มีไขมันซึ่งมีทั้งไขมันคอเลสเตอรอล (Cholesterol) และไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ก็จะถูกลำไส้เล็กดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และจะไปจับตัวกับโปรตีนที่ชื่อ Apolipoprotein (ชื่อย่อคือ Apo ซึ่งมีอยู่หลายชนิด แต่ละชนิดมีหน้าที่ต่างกันไป) ร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆอีกกลาย เป็นกลุ่มไขมันที่ชื่อว่า Chylomicron ซึ่งเป็นกลุ่มไขมันที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ มีไตรกลีเซอไรด์อยู่มาก (คือมีไตรกลีเซอไรด์ 80 - 95% มีคอเลสเทอรอล 2 - 7%) Chylomicron นี้จะเดิน ทางไปทั่วร่างกาย และปลดปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันและเซลล์กล้ามเนื้อใช้ทำ งานโดยอาศัยเอนไซม์ (Enzyme, สารเคมีที่มีหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีต่างๆ) ที่ชื่อว่า Lipopro tein lipase (ผู้ที่มีเอนไซม์ชนิดนี้ทำงานผิดปกติจึงมีระดับไตรกลีเซอไรด์สูง) หลังจากนั้น กลุ่มไขมัน Chylomicron ก็จะมีขนาดที่เล็กลงและเดินทางเข้าสู่ตับต่อไป

ตับจะผลิตกลุ่มไขมันที่ชื่อ VLDL เข้าสู่กระแสเลือด (มีไตรกลีเซอไรด์ประมาณ 55 - 80 %) และเดินทางไปทั่วร่างกาย ปลดปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันและเซลล์กล้ามเนื้อใช้งาน และกลายเป็นกลุ่มไขมันที่มีขนาดเล็กลงชื่อ แอลดีแอล (LDL, Low-density lipopro tein) ซึ่งจะมีคอเลสเตอรอลเป็นองค์ประกอบหลัก LDL นี้โดยส่วนใหญ่ก็จะกลับเข้าสู่ตับโดยอา ศัยตัวรับ (Receptor) กลับสู่ตับที่ชื่อ LDL receptor (ผู้ที่มีความผิดปกติของ LDL receptor จึงวัดระดับกลุ่มไขมัน LDL หรือคอเลสเทอรอลในเลือดได้สูงนั่นเอง) LDL ที่เหลือจะถูกอวัยวะอื่น ๆนำไปใช้งานเช่น รังไข่นำไปใช้ผลิตฮอร์โมน



อะไรเป็นสาเหตุของโรคไขมันในเลือดสูง?

โรคไขมันในเลือดสูงมีสาเหตุได้จาก

สาเหตุจากกระบวนการเมตาบอลิซึมของไขมันที่ผิดปกติเอง

สาเหตุที่ทำให้มีระดับคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ แต่ระดับไตรกลีเซอไรด์ปกติ

เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับตัวรับไขมันชนิด LDL (LDL recep tor) ซึ่งเรียกภาวะนี้ว่า Familial cholesterolemia (FM) โดยหากความผิดปกติของพันธุกรรมเกิดบนโครโมโซม (Chromosome) ทั้ง 2 แท่ง (ที่คู่กัน) ที่เรียกว่า Homozygous จะพบโรคนี้ได้ประมาณ 1 คนใน 1 ล้านคน แต่ถ้าความผิดปกติเกิดบนโครโมโซมเพียงแท่งเดียว (Hetero zygous) จะพบโรคนี้ได้ประมาณ 1 คนใน 500 คน

เกิดจากปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายนอกร่วมกับมีพันธุกรรมบางอย่างที่เสี่ยงต่อการมีไขมันในเลือดสูงเรียกภาวะนี้ว่า Polygenic hypercholesterolemia สาเหตุนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด พันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับสาเหตุนี้อาจมีหลายตัวบนหลายโครโมโซม ซึ่งปัจจุบันยังไม่ทราบชนิดพันธุกรรมที่ชัดเจน ซึ่งปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมได้แก่ การกินอาหารที่มีไขมันเป็นสัดส่วนมากเกิน ไป, การกินอาหารที่ประกอบด้วยไขมันอิ่มตัวสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), มีไขมันชนิดคอเลส เทอรอลสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), กินอาหารที่มีใยอาหาร (ผัก ผลไม้) น้อย, การมีน้ำหนักตัวเกิน, ดื่มแอลกอฮอล์, ไม่ออกกำลังกาย, การใช้เครื่องอำนวยความสะดวกมากเกินไป ซึ่งทั้ง หมดเป็นวิถีชีวิตส่วนใหญ่ของคนในเมือง

เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับโปรตีนที่ประกอบกับไขมันชื่อ Apo B-100 เรียกภาวะนี้ว่า Familial defective apo B-100 (FDB) พบเป็นสาเหตุได้น้อยมาก ยก เว้นในคนเชื้อชาติเยอรมันที่พบได้สูงถึง 1 คนใน 1,000 คน

เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับตัวรับไขมันชนิด LDL (LDL recep tor) เฉพาะที่อยู่บนตับเรียกว่า Autosomal recessive hypercholesterolemia (ARH) พบเป็นสาเหตุได้น้อยมาก ยกเว้นในคนเชื้อชาติอิตาลีที่พบได้บ่อย

เกิดจากความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูดซึมไขมันที่ลำไส้เล็กส่วนต้น เรียกภาวะนี้ว่า Sitosterolemia พบภาวะนี้ได้น้อยมากเช่นกัน

สาเหตุที่ทำให้มีทั้งระดับไตรกลีเซอไรด์และระดับคอเลสเตอรอลสูงกว่าปกติ

วันพุธที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงเกาหลี ช่วยโรคไขมันในเส้นเลือด เบาหวาน ความดัน ...




หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงเกาหลี ช่วยโรคไขมันในเส้นเลือด เบาหวาน ความดัน

รายละเอียดเพิ่มเติม    http://www.Linhzhimin2U.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคไขมันในเลือดสูงมีผลข้างเคียงอย่างไร?

ภาวะที่มีระดับกลุ่มไขมัน LDL สูงถือเป็นหนึ่งในความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งนำไปสู่โรคหัวใจขาดเลือด และอัมพฤกษ์/อัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง จากการที่ไขมันไปทำให้หลอดเลือดแดงใหญ่แข็งตัวซึ่งเรียกว่า Atherosclerosis (โรคหลอดเลือดแดงแข็ง) ความเสี่ยงเหล่านั้นได้แก่

ผู้ชายที่อายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป ผู้หญิงที่อายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป

มีประวัติพ่อหรือพี่น้องผู้ชายเป็นโรคหัวใจขาดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจตาย) ที่อายุน้อยกว่า 55 ปี หรือมีแม่หรือญาติผู้หญิงเป็นโรคหัวใจขาดเลือดที่อายุน้อยกว่า 65 ปี

เป็นโรคความดันโลหิตสูง มีความดันโลหิต ≥ 140/90 มิลลิเมตร-ปรอท

สูบบุหรี่

มีไขมัน HDL ต่ำกว่า 40 mg/dl แต่ถ้า HDL ≥ 60 mg/dl ให้ลบความเสี่ยงข้างต้น (ถ้ามี) ออก 1 ข้อ เพราะกลุ่มไขมัน HDL ถือว่าเป็นกลุ่มไขมันที่ดีที่ช่วยยับยั้งการเกิดหลอดเลือดแดงใหญ่แข็งตัว



ดังนั้นการที่จะบอกว่าบุคคลใดมีระดับไขมันในเลือดสูงที่จะต้องรักษา ก็ต้องดูว่าผู้ป่วยมีความเสี่ยงใดบ้าง ถ้าไม่มีความเสี่ยงเลยหรือมีความเสี่ยงเพียง 1 ข้อ ค่าระดับกลุ่มไขมัน LDL ที่มากกว่า 160 mg/dl ถือว่ามีไขมันในเลือดสูง แต่ถ้ามีปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไปค่าระดับกลุ่มไขมัน LDL ที่มากกว่า 130 mg/dl จะถือว่ามีไขมันในเลือดสูง แต่ถ้าเป็นโรคเบาหวานหรือเคยเกิดโรคหัวใจขาดเลือดมาแล้ว ค่าระดับกลุ่มไขมัน LDL ที่มากกว่า 100 mg/dl ก็ถือว่าสูงแล้ว

สำหรับค่าไขมันไตรกลีเซอไรด์ไม่ได้มีความสัมพันธ์ชัดเจนต่อความเสี่ยงในการเกิดโรค หัวใจขาดเลือด

รักษาโรคไขมันในเลือดสูงอย่างไร?

การรักษาโรคไขมันในเลือดสูงขึ้นอยู่กับว่าบุคคลนั้นมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดกี่ความเสี่ยง

ถ้าไม่มีความเสี่ยงเลยหรือมีความเสี่ยงเพียง 1 ข้อ ค่า LDL ≥ 160 mg/dl ให้ใช้การรักษาโดยไม่ใช้ยาลดไขมันในเลือด 3 เดือน แล้วตรวจซ้ำ ถ้ายัง ≥160 ให้ใช้ยารักษาควบคู่ไปด้วย แต่ถ้าค่า LDL ≥ 190 ก็ให้เริ่มใช้ยาไปเลยควบคู่กับการรักษาโดยไม่ใช้ยา

ถ้ามีความเสี่ยงตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป ค่า LDL ≥130 ให้ใช้การรักษาโดยไม่ใช้ยาลดไขมันในเลือด 3 เดือน แล้วตรวจซ้ำ ถ้ายัง ≥ 130 ให้ใช้การรักษาโดยใช้ยาควบคู่กับการรักษาโดยไม่ใช้ยา

ถ้าเป็นโรคเบาหวานหรือเคยเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ/โรคหัวใจขาดเลือดมาแล้ว ค่า LDL ≥100 ให้ใช้การรักษาโดยไม่ใช้ยา ถ้า LDL ≥ 130 ให้ใช้ยาควบคู่กับการรักษาโดยไม่ใช้ยา

สำหรับค่าไขมันไตรกลีเซอไรด์ ถ้า ≥ 150 mg/dl ร่วมกับมีไขมัน HDL

วิธีการรักษาโรคไขมันในเลือดสูง

การรักษาโดยไม่ใช้ยาโดย

การควบคุมอาหาร ผู้ป่วยที่มีระดับกลุ่มไขมัน LDL สูงจะต้องลดอาหารที่มีคอเลสเตอรอลให้น้อยกว่า 300 mg ต่อวัน อาหารที่มีคอเลสเทอรอลสูงเช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์ต่างๆ เนื้อสัตว์ติดมัน กุ้ง หอย ปลาหมึก ไข่ปลา เป็นต้น และต้องลดอาหารประเภทไขมันให้น้อยกว่า 30% ของปริมาณแคลอรีที่ร่างกายได้รับต่อวัน (โดยเฉลี่ยคือ 1,500 - 2,000 กิโลแคลอรี/วัน) โดยต้องเป็นอาหารที่กรดไขมันอิ่มตัว (มักเป็นไขมันจากสัตว์) ไม่เกิน 10% อาหารที่มีกรดไขมันอิ่ม ตัวสูงพบมากในอาหารผัด ทอด ที่ใช้น้ำมันหมู น้ำมันปาล์ม เนย หรืออาหารที่ใช้กะทิ เป็นต้น

ผู้ป่วยที่มีระดับไตรกลีเซอไรด์สูงต้องลดอาหารประเภทแป้งขัดสีเช่น ขนมปังชนิดต่างๆ รวม ถึงปาท่องโก๋ โดนัท เส้นก๋วยเตี๋ยว เส้นสปาเกตตี มักกะโรนี บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เป็นต้น และอา หารที่มีน้ำตาลสูง สำหรับผู้ป่วยโรค Familial chylomicronemia syndrome จะต้องลดอาหารประเภทไขมันให้เหลือน้อยที่สุดคือน้อยกว่า 15 กรัมต่อวัน และใช้การกินวิตามินเสริมเพื่อป้องการการขาดวิตามิน

การออกกำลังกาย จะช่วยลดระดับไขมันชนิดต่างๆได้และช่วยเพิ่มระดับไขมัน HDL แต่ที่สำ คัญคือการออกกำลังกายช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ/โรคหัวใจขาดเลือดได้ แม้มีปัจจัยเสี่ยงอย่างอื่นร่วมอยู่ด้วยก็ตาม

การลดน้ำหนัก ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวเกินต้องลดน้ำหนัก ซึ่งจะช่วยให้ระดับไตรกลีเซอไรด์ลด ลงและช่วยเพิ่มระดับกลุ่มไขมัน HDL ได้

การใช้ยารักษา ซึ่งมียาอยู่หลายกลุ่มได้แก่

ยากลุ่ม HMG-CoA reductase inhibitor ซึ่งจะไปลดการผลิตไขมันจากตับ ทำให้ลดระดับคอเลสเทอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และกลุ่มไขมัน LDL ลงได้ ที่รู้จักกันดีชื่อ Simvastatin

ยากลุ่มช่วยลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลจากลำไส้ (Cholesterol absorption inhibitor และ bile acid sequestrants)

ยาที่เป็นวิตามิน บีรวม ชื่อ Niacin ซึ่งจะช่วยลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ ไขมัน LDL และช่วยเพิ่มระดับไขมัน HDL ได้

ยากลุ่ม Fibrates เป็นยากลุ่มที่มีประสิทธิภาพสูงในการลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ แต่อาจเพิ่มระดับกลุ่มไขมัน LDL ได้

น้ำมันปลาสามารถช่วยลดระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ได้

อนึ่ง ไม่ควรซื้อยาลดไขมันกินเอง ควรกินยาตามแพทย์แนะนำเท่านั้น เพราะการใช้ยาจะได้ผลสูงสุดต้องขึ้นกับขนาดของยาด้วย นอกจากนั้น ยังอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้นอีกด้วย


คนดังนั่งเคลียร์ ดูแลสุขภาพโรคความดัน เบาหวาน โรคหัวใจ โทร 094 435 0404





หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด

คนดังนั่งเคลียร์ ดูแลสุขภาพโรคความดัน เบาหวาน โรคหัวใจ

รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)หมายถึงโรคที่มีระดับไขมันในเลือดสูงยิ่งกว่าค่าที่ถูกกำ หนดขึ้น ซึ่งค่าธรรมดานี้ได้มาโดยการเก็บข้อมูลทางสถิติของระดับไขมันในเลือดของคนทั่วๆไป โดยพบว่าเมื่อมีค่าเกินระดับหนึ่งแล้วบุคคลนั้นๆก็จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเส้นโลหิตหัวใจและก็ตามมาเป็นโรคหัวใจขาดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจตาย) การที่บุคคลใดต้องมีระดับไขมันเท่าไร และก็จะเลือกการดูแลรักษาแบบไหนขึ้นกับว่ามีการเสี่ยงอื่นๆร่วมด้วยอีกกี่การเสี่ยง ด้วยเหตุนี้การกำหนดระดับไขมันในแต่ละคนก็เลยบางทีอาจแตกต่างกัน

โดยรวมโรคนี้เจอในคนเชื้อชาติตะวันตกมากยิ่งกว่าคนเชื้อชาติทวีปเอเชีย และก็เจอในอาศัยในเขตเมืองมากยิ่งกว่าในเขตชนบท สำหรับในประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติมิได้เก็บรวบ รวมข้อมูลคนเจ็บที่มีโรคไขมันในเลือดสูง แต่ว่าอย่างไรก็แล้วแต่ มีลัษณะทิศทางที่โรคนี้จะพบได้ทั่วไปขึ้นเรื่อยต้นสายปลายเหตุมาจากความเคลื่อนไหวการดำรงชีวิตรวมทั้งการบริโภคเป็นหลัก

ไขมันมีขั้นตอนเมตาบอลิซึมเช่นไร?

ไขมันในเลือดสูง

กรรมวิธีเมตาบอลิซึม (Metabolism, ขั้นตอนการทางเคมีเพื่อนำสารต่างๆไปใช้เพื่อ ให้กำเนิดพลังงานใช้ในการเติบโตของเซลล์) ของไขมันเริ่มจากเมื่อพวกเรากินอาหารที่มีไขมันซึ่งมีอีกทั้งไขมันคอเลสเตอรอล (Cholesterol) แล้วก็ไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ก็จะถูกลำไส้เล็กดูดซับไปสู่กระแสโลหิต รวมทั้งจะไปจับกุมกับโปรตีนที่ชื่อ Apolipoprotein (ชื่อย่อเป็น Apo ซึ่งมีอยู่หลายแบบ แต่ละจำพวกมีบทบาทแตกต่างไป) ร่วมกับส่วนประกอบอื่นๆอีกเปลี่ยน เป็นกรุ๊ปไขมันที่ชื่อว่า Chylomicron ซึ่งเป็นกรุ๊ปไขมันที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ มีไตรกลีเซอไรด์อยู่มากมาย (เป็นมีไตรกลีเซอไรด์ 80 - 95% มีคอเลสเทอรอคอยล 2 - 7%) Chylomicron นี้จะเดิน ทางไปทั่วร่างกาย รวมทั้งปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันรวมทั้งเซลล์กล้ามใช้ทำ งานโดยอาศัยเอนไซม์ (Enzyme, สารเคมีที่มีบทบาทรีบปฏิกิริยาเคมีต่างๆ) ที่ชื่อว่า Lipopro tein lipase (คนที่มีเอนไซม์จำพวกนี้ดำเนินงานไม่ปกติก็เลยหรูหราไตรกลีเซอไรด์สูง) ต่อไป กรุ๊ปไขมัน Chylomicron ก็จะมีขนาดที่เล็กลงรวมทั้งเดินทางไปสู่ตับถัดไป

ตับจะผลิตกรุ๊ปไขมันที่ชื่อ VLDL ไปสู่กระแสโลหิต (มีไตรกลีเซอไรด์ราว 55 - 80 %) รวมทั้งเดินทางไปทั่วร่างกาย ปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันแล้วก็เซลล์กล้ามใช้งาน และก็เปลี่ยนเป็นกรุ๊ปไขมันที่มีขนาดเล็กเซ็นชื่อ แอลดีแอล (LDL, Low-density lipopro tein) ซึ่งจะมีคอเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบหลัก LDL นี้โดยส่วนมากก็จะกลับไปสู่ตับโดยอา ศัยตัวรับ (Receptor) กลับสู่ตับที่ชื่อ LDL receptor (คนที่มีความผิดธรรมดาของ LDL receptor ก็เลยวัดระดับกรุ๊ปไขมัน LDL หรือคอเลสเทอรอคอยลในเลือดได้สูงนั่นเอง) LDL ที่เหลือจะถูกอวัยวะอื่นๆเอาไปใช้งานเช่น รังไข่เอาไปใช้ผลิตฮอร์โมน



อะไรเป็นต้นเหตุของโรคไขมันในเลือดสูง?

โรคไขมันในเลือดสูงมีปัจจัยได้จาก

สาเหตุจากกรรมวิธีเมตาบอลิซึมของไขมันที่แตกต่างจากปกติเอง

ปัจจัยที่ทำให้หรูหราคอเลสเตอรอลสูงขึ้นยิ่งกว่าธรรมดา แม้กระนั้นระดับไตรกลีเซอไรด์ธรรมดา

เกิดขึ้นได้เนื่องมาจากความเปลี่ยนไปจากปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวเนื่องกับตัวรับไขมันจำพวก LDL (LDL recep tor) ซึ่งเรียกภาวการณ์นี้ว่า Familial cholesterolemia (FM) โดยแม้ความแตกต่างจากปกติของกรรมพันธุ์กำเนิดบนโครโมโซม (Chromosome) 2 แท่ง (ที่คู่กัน) ที่เรียกว่า Homozygous จะเจอโรคนี้ได้ราว 1 คนภายใน 1 ล้านคน แม้กระนั้นถ้าหากความไม่ปกติกำเนิดบนโครโมโซมเพียงแต่แท่งเดียว (Hetero zygous) จะเจอโรคนี้ได้ราวๆ 1 คนภายใน 500 คน

เกิดขึ้นจากต้นเหตุสภาพแวดล้อมข้างนอกร่วมกับมีกรรมพันธุ์บางสิ่งที่มีความเสี่ยงต่อการมีไขมันในเลือดสูงเรียกสภาวะนี้ว่า Polygenic hypercholesterolemia ปัจจัยนี้เป็นต้นเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด กรรมพันธุ์ที่เกี่ยวโยงกับต้นเหตุนี้อาจมีหลายตัวบนหลายโครโมโซม ซึ่งเดี๋ยวนี้ยังไม่รู้จักประเภทกรรมพันธุ์ที่ชัดแจ้ง ซึ่งต้นเหตุจากสภาพแวดล้อมดังเช่นว่า การกินของกินที่มีไขมันเป็นสัดส่วนใหญ่เกิน ไป, การกินของกินที่มีไขมันอิ่มตัวสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), มีไขมันประเภทคอเลส เทอรอคอยลสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), ทานอาหารที่มีใยอาหาร (ผัก ผลไม้) น้อย, การมีน้ำหนักตัวเกิน, ดื่มแอลกอฮอล์, ไม่บริหารร่างกาย, การใช้งานเครื่องอำนวยความสะดวกมากเกินความจำเป็น ซึ่งอีกทั้ง หมดเป็นวิถีชีวิตโดยมากของคนภายในเมือง

เกิดขึ้นได้เนื่องมาจากความผิดแปลกของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวพันกับโปรตีนที่ประกอบกับไขมันชื่อ Apo B-100 เรียกภาวการณ์นี้ว่า Familial defective apo B-100 (FDB) เจอเป็นต้นเหตุได้น้อยมาก ชู เว้นในคนเชื้อชาติเยอรมันที่เจอได้มากถึง 1 คนภายใน 1,000 คน

เกิดขึ้นได้เนื่องมาจากความไม่ปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวโยงกับตัวรับไขมันจำพวก LDL (LDL recep tor) เฉพาะที่อยู่บนตับเรียกว่า Autosomal recessive hypercholesterolemia (ARH) เจอเป็นต้นเหตุได้น้อยมาก นอกจากในคนเชื้อชาติอิตาลีที่พบมาก

มีเหตุมาจากความแปลกของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวเนื่องกับการดูดซึมไขมันที่ลำไส้เล็กส่วนต้น เรียกภาวการณ์นี้ว่า Sitosterolemia เจอสภาวะนี้ได้น้อยมากเช่นเดียวกัน

มูลเหตุที่ทำให้มีอีกทั้งระดับไตรกลีเซอไรด์รวมทั้งระดับคอเลสเตอรอลสูงยิ่งกว่าธรรมดา

เกิดขึ้นจากความเปลี่ยนไปจากปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวพันกับโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีที่สลายกรุ๊ปไขมัน Chylomi cron และก็ VLDL ซึ่งดังเช่นว่า Lipoprotein lipase และก็ Apo-C-II เรียกสภาวะนี้ว่า กรุ๊ปอาการ Familial chylomicronemia syndrome เจอได้โดยประมาณ 1 คนภายใน 1 ล้านคน คนไข้จะหรูหราไตรกลีเซอไรด์ขึ้นสูงเกินกว่า 1,000 mg/dl (ไม่ลิกรัม/ดล.) ส่วนระดับคอเลสเตอรอลสูงปานกลาง

มีเหตุมาจากความไม่ปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวกับโปรตีนที่ประกอบกับไขมันชื่อ Apo-E เรียกสภาวะนี้ว่า Familial dysbetalipoproteinemia (FDBL) คนไข้จะหรูหราไตรกลีเซอไรด์รวมทั้งคอเลสเตอรอลขึ้นสูง

หลินจือมิน เห็ดหลินจือมินแดง รู้ทันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง โทร...





หลินจือมิน เห็ดหลินจือมินแดง รู้ทันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง

รายละเอียดเพิ่มเติม   http://www.jumbolifeshop.com/p/439

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM, Diabetes) เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องจากการขาดฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) หรือการดื้อต่อฮอร์โมนอินซูลิน ส่งผลให้กระบวนการดูดซึมน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงานของเซลล์ในร่างกายมีความผิดปกติหรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ จนเกิดน้ำตาลสะสมในเลือดปริมาณมาก หากปล่อยให้ร่างกายอยู่ในสภาวะนี้เป็นเวลานานจะทำให้อวัยวะต่าง ๆ เสื่อม เกิดโรคและอาการแทรกซ้อนขึ้น

โรคเบาหวาน

จากข้อมูลของสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation, IDF) พบผู้ป่วยเบาหวานทั่วโลกราว 415 ล้านคนในปี 2558 และคาดการณ์ว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคนี้มากถึง 642 ล้านคนในปี 2583 สำหรับสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทยพบว่า คนไทยช่วงอายุ 20-79 ปี เป็นโรคเบาหวานร้อยละ 7.1 หรือหมายความว่า ในจำนวนคน 100 คน จะพบคนที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานประมาณ 7 คน และจำนวนมากกว่าครึ่งไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน สถิติการพบผู้ป่วยด้วยโรคนี้ยังมีจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้ต้องมีการรณรงค์อย่างต่อเนื่องถึงภัยร้ายของโรค เพราะเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด มีโอกาสเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนลุกลามใหญ่โตจนต้องสูญเสียอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ทางสหพันธ์เบาหวานนานาชาติ และองค์การอนามัยโลก (WHO) จึงได้กำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปีเป็นวันเบาหวานโลก เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของโรคนี้

ในปัจจุบัน ประเทศไทยยึดหลักเกณฑ์ตามสมาคมเบาหวานแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาในการจำแนกผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยการตรวจปริมาณน้ำตาลในเลือด หากผลการตรวจหลังงดอาหารและเครื่องดื่มมีน้ำตาลอยู่กระแสเลือดไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร แสดงว่าระดับน้ำตาลในเลือดปกติ ทั้งนี้ระดับน้ำตาลในเลือดยังบ่งบอกถึงภาวะเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานได้ด้วย (Prediabetes) ซึ่งผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อภาวะเป็นเบาหวานสามารถพัฒนาการเกิดโรคเบาหวานประเภทที่ 2  (เบาหวานที่เกิดจากการที่ตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อการใช้) โรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดในสมองในอนาคตได้ง่ายขึ้น


อาการของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานในระยะแรกจะไม่แสดงอาการผิดปกติ บางรายอาจตรวจพบโรคเบาหวานเมื่อพบภาวะแทรกซ้อนขึ้นแล้ว อาการของโรคเบาหวานแต่ละชนิดอาจมีความคล้ายกัน ซึ่งอาการที่พบส่วนใหญ่ คือ กระหายน้ำมาก ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย น้ำหนักลดหรือเพิ่มผิดปกติ สายตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด รู้สึกเหนื่อยง่าย  มีอาการชา โดยเฉพาะมือและขา บาดแผลหายยาก เป็นต้น ทั้งนี้ อาการของโรคเบาหวานประเภทที่ 1 จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่โรคเบาหวานประเภทที่ 2 จะแสดงอาการแบบค่อยเป็นค่อยไป ส่วนโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์มักเกิดขึ้นในช่วงอายุครรภ์ประมาณ 24-28 สัปดาห์



สาเหตุของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานมีหลายประเภท สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ เบาหวานประเภทที่ 1 (Type 1 Diabetes) เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ เบาหวานประเภทที่ 2 (Type 2 Diabetes) เกิดจากการที่ตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อการใช้ หรือเกิดภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin Resistance) เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes) เป็นโรคเบาหวานที่พัฒนาขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์จากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน โดยที่ผู้ป่วยไม่เคยเป็นโรคเบาหวานมาก่อน และเบาหวานจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น การใช้ยา หรือเกิดจากโรคชนิดอื่น


การวินิจฉัยโรคเบาหวาน

แพทย์จะสอบถามอาการผู้ป่วย ประวัติการเจ็บป่วยของผู้ป่วยและของบุคคลในครอบครัว และการตรวจร่างกาย และที่สำคัญต้องอาศัยการตรวจเลือด เพื่อดูระดับน้ำตาลในเลือดเป็นหลัก โดยมีวิธีการวิเคราะห์ระดับน้ำตาลในเลือดหลายวิธี ได้แก่



การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเวลาใดก็ได้ (Random/Casual Plasma Glucose Test)

การตรวจระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง (Fasting Plasma Glucose: FPG)

การตรวจน้ำตาลเฉลี่ยสะสม หรือฮีโมโกลบิน เอ วัน ซี (Hemoglobin A1c: HbA1c)

การทดสอบการตอบสนองของฮอร์โมนอินซูลินต่อระดับน้ำตาลในเลือด (Oral Glucose Tolerance Test: OGTT)

หากผู้ป่วยไม่มีอาการของโรคเบาหวานชัดเจนคือ หิวน้ำมาก ปัสสาวะบ่อยและมาก น้ำหนักตัวลดลง โดยที่ไม่มีสาเหตุ การตรวจด้วยวิธีทั้งหมดข้างต้นจำเป็นต้องมีการตรวจซ้ำอย่างน้อย 1 ครั้งด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งอีกครั้งหนึ่งเพื่อยืนยันผลการวินิจฉัย

ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน

โรคเบาหวานเป็นโรคที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากกว่าปกติ หากไม่มีการควบคุมในเรื่องของการรับประทานอาหารและดูแลรักษาสุขภาพอย่างถูกวิธี ปล่อยให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นเป็นเวลานาน จะส่งผลต่อเส้นเลือดที่นำสารอาหารไปเลี้ยงอวัยวะในร่างกายจนนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ทั้งโรคแทรกซ้อนชนิดที่เกิดกับเส้นเลือดขนาดเล็ก (microvascular complications) เช่น เบาหวานขึ้นตา โรคไต หรือโรคแทรกซ้อนชนิดที่เกิดกับเส้นเลือดขนาดใหญ่ (macrovascular complications) เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเส้นเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน รวมไปถึงโรคแทรกซ้อนที่ระบบประสาทและที่สามารถทำให้ผู้ป่วยต้องสูญเสียอวัยะบางส่วน นอกจากนี้สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวานจะเพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะครรภ์เป็นพิษ การแท้งบุตรได้


การรักษาโรคเบาหวาน

การรักษาผู้ป่วยเบาหวานในประเภทที่ 1 จำเป็นต้องได้รับฮอร์โมนอินซูลินเข้าไปทดแทนในร่างกายด้วยการฉีดยาเป็นหลัก ควบคู่ไปกับการคุมอาหารและออกกำลังกายที่เหมาะสม ในขณะที่โรคเบาหวานประเภทที่ 2 หากเป็นในระยะแรก ๆ สามารถรักษาได้ด้วยการรับประทานอาหารที่เหมาะสม การออกกำลัง และควบคุมน้ำหนัก หากอาการไม่ดีขึ้น แพทย์อาจให้ยาควบคู่ไปด้วยหรือฉีดอินซูลินเข้าไปทดแทนเช่นเดียวกับโรคเบาหวานชนิดที่ 1


คนดังนั่งเคลียร์ แก้ปัญหาโรคเบาหวาน ความดันสูง ความดันโลหิต โทร 089 071 ...





คนดังนั่งเคลียร์ แก้ปัญหาโรคเบาหวาน ความดันสูง ความดันโลหิต

หลินจือมิน เห็ดหลินจือสกัด

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.Linhzhimin2U.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife





โรคเบาหวาน คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เกิดจากความบกพร่องของการหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน หรือร่างกายอาจดื้อต่อการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลินทำให้ฮอร์โมนดังกล่าวทำงานได้ไม่เต็มที่ อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำคัญที่สร้างมาจากตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่เกณฑ์ปกติ และยังทำหน้าที่ช่วยนำน้ำตาลในร่างกายออกมาใช้เป็นพลังงาน เมื่อมีอินซูลินไม่เพียงพอ หรือมีปริมาณพอแต่ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้เต็มที่ น้ำตาลก็จะไม่ถูกนำไปใช้และคงอยู่ในเลือด ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะได้ ปัสสาวะจะหวานจนบางครั้งมีมดขึ้น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อโรคเบาหวานนั่นเอง หากระดับน้ำตาลในเลือดสูงอยู่เป็นเวลานานจะทำให้หลอดเลือดเสื่อมและอวัยวะต่างๆที่หลอดเลือดเหล่านั้นมาเลี้ยง ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนจากเบาหวานเช่น สมองขาดเลือด (อัมพฤกษ์ อัมพาต) กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด จอประสาทตาเสื่อม ไตเสื่อม แผลเรื้อรัง เป็นต้น


ประเภทของโรคเบาหวาน แบ่งตามสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้

เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน หรือเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นประเภทที่ความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดขึ้น ในเด็กหรือคนอายุน้อยกว่า 25 ปี ส่วนน้อยที่พบในผู้ใหญ่ เบาหวานประเภทนี้เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เลยหรือสร้างได้น้อยมาก ซึ่งเป็นผลจากที่ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันไปทำลายตับอ่อนของตัวเองจนไม่สามารถผลิตอินซูลินได้ เชื่อว่าเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรม หรือบางรายอาจเกิดจากการติดเชื้อหรือได้รับสารพิษบางอย่าง การรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลินทุกวันเพื่อทดแทนให้มีปริมาณอินซูลินในร่างกายเพียงพอ หากขาดอินซูลินร่างกายจะเผาผลาญไขมันมาใช้เป็นพลังงานแทนน้ำตาล ทำให้เกิดสารคีโตนคั่งในเลือดและทำให้เลือดเป็นกรด ส่งผลให้เสียชีวิตได้

เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน หรือเบาหวานชนิดที่ 2 เป็นประเภทที่พบบ่อยที่สุดถึงร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมด ส่วนมากเกิดในผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 30 ปี แต่บางครั้งก็เกิดขึ้นได้ในคนอายุน้อย ตับอ่อนของผู้ป่วยเบาหวานประเภทนี้ยังสามารถผลิตอินซูลินได้แต่ปริมาณไม่เพียงพอ หรือบางรายอาจมีภาวะดื้อต่ออินซูลินร่วมด้วย ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่ ปัจจุบันพบผู้ป่วยเบาหวานชนิดนี้มากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากวิถีชีวิตของผู้คนที่เปลี่ยนไปเป็นแบบสังคมเมือง ต้องเผชิญกับความเครียดต่างๆ ขาดการออกกำลังกาย รวมทั้งการนิยมบริโภคอาหารจานด่วนทำให้เกิดโรคอ้วน ซึ่งความอ้วนนี้เองที่มีความสัมพันธ์กับภาวะดื้อต่ออินซูลินโดยตรง ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นจนเกิดโรคเบาหวานในที่สุด



เบาหวานที่เกิดจากสาเหตุอื่น เบาหวานประเภทนี้อาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ส่งผลต่อการสร้างอินซูลิน เช่น

โรคของตับอ่อน อาทิ ตับอ่อนอักเสบ การติดเชื้อที่ตับอ่อน การผ่าตัดตับอ่อน และมะเร็งตับอ่อน โรคดังกล่าวทำให้ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่เพียงพอที่จะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

โรคของระบบต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมนบางตัวออกมาต้านฤทธิ์ของอินซูลิน เช่น กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing’s syndrome)

ยาหรือสารเคมีที่มีผลต่อตับอ่อน เช่น สเตียรอยด์ ยากันชัก ยาอัลฟาอินเตอร์เฟอรอน (alpha interferon)

เบาหวานขณะตั้งครรภ์ เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นในผู้หญิงขณะตั้งครรภ์ พบว่าผู้หญิงกลุ่มดังกล่าวเมื่อคลอดบุตรเรียบร้อยแล้วในอนาคตจะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานมากกว่าผู้หญิงที่ตรวจไม่พบโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์สูงถึง 7.4 เท่า ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์ทุกรายควรได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดภายใน 6 ถึง 8 สัปดาห์หลังคลอด และถ้าผลเลือดปกติก็ควรรับการตรวจติดตามทุก 1 ปี


สัญญานเตือนอันตราย

อาการของโรคเบาหวานมีหลายรูปแบบ ตั้งแต่ไม่มีอาการเลย (ภัยเงียบ) จนถึงมีอาการผิดปกติเช่น ได้หิวน้ำบ่อยมาก ปัสสาวะบ่อยและปริมาณมาก ปัสสาวะมีมดตอม กินเก่งมากอย่างผิดปกติ น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ แผลหายยาก อ่อนเพลียผิดปกติ คันตามตัว เป็นฝีบ่อย ปวดแสบปวดร้อนหรือชาปลายมือปลายเท้า ตามัวลง ปวดขาหรือเป็นตะคริวเมื่อเดินไกลๆ ในผู้หญิงอาจมีตกขาวหรือคันช่องคลอดเรื้อรัง หากมีอาการเหล่านี้ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจหาโรคเบาหวาน อย่างไรก็ตามผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่มีอาการ จะทราบว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่จากการตรวจสุขภาพเท่านั้น ดังนั้นผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวานควรเข้ารับการตรวจคัดกรองหาโรคเบาหวานตั้งแต่ระยะแรกๆ

เห็ดหลินจือแดง หลินจือมิน รู้ทันโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด โทร...




เห็ดหลินจือแดง หลินจือมิน รู้ทันโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด

รายละเอียดเพิ่มเติม   http://www.jumbolifeshop.com/p/439

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife


โรคเบาหวาน

เบาหวานเป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินกว่าที่ควรจะเป็น มีสาเหตุมาจากการหลั่งอินซูลิน (insulin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่เพียงพอ เรียกว่ามี ภาวะขาดอินซูลิน หรือเกิดจากความสามารถในการตอบสนองต่อฤทธิ์ของอินซูลินลดลง เรียกว่ามี ภาวะดื้ออินซูลิน หรือเกิดจากสาเหตุทั้งสองอย่าง คือ ในบุคคลคนเดียวกันอาจมีทั้งความผิดปกติในการหลั่งอินซูลิน และการตอบสนองต่อฤทธิ์ของอินซูลินลดลง และบ่อยครั้งที่ยากจะบอกว่า การขาดอินซูลิน หรือดื้ออินซูลิน เป็นสาเหตุเริ่มต้นที่ทำให้เกิดระดับน้ำตาลในเลือดสูง การที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานานๆ ส่งผลให้อวัยวะและเนื้อเยื่อทั้งหมดของร่างกายมีความผิดปกติในการทำงานเกิดขึ้น และท้ายที่สุดทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนขึ้นในอวัยวะต่างๆ ได้แก่ ตา ไต เส้นประสาทและสมอง หัวใจ หรือเกิดปัญหาที่เท้า


องค์การอนามัยโลกและสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ ได้ติดตามสถานการณ์ของโรคเบาหวานมาอย่างต่อเนื่อง พบว่า จำนวนผู้เป็นโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก โดยไม่มีแนวโน้มว่าจะลดลงหรือคงตัว ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ จำนวนผู้เป็นโรคเบาหวานทั่วโลกมีมากกว่า ๒๘๕ ล้านคน หากไม่ดำเนินการอย่างเหมาะสมแล้ว คาดว่า อีก ๒๐ ปี พ.ศ. ๒๕๗๓ จะเพิ่มขึ้นเป็น ๔๓๙ ล้านคน ดังนั้นสมาพันธ์เบาหวานนานาชาติ องค์การอนามัยโลก และองค์กรที่เกี่ยวข้อง ต่างก็ตระหนักเป็นอย่างดีว่า โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลก จึงได้นำประเด็นโรคเบาหวานเข้าสู่ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ และสมัชชา ได้ผ่านญัตติให้โรคเบาหวานเป็นปัญหาระดับโลก เมื่อวันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙  โดยองค์การสหประชาชาติได้ขอความร่วมมือจากประเทศสมาชิก ให้จัดหามาตรการดำเนินการ เพื่อลดปัญหาโรคเบาหวานในประเทศของตน มีการป้องกัน และดูแลโรคเบาหวานที่ครอบคลุม อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และอย่างยั่งยืน



จากการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของคนไทยที่มีอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑ -  พ.ศ.๒๕๕๒  พบว่า เป็นโรคเบาหวานร้อยละ ๖.๙ อายุที่เริ่มเป็นโรคเบาหวานลดน้อยลง ผู้หญิงจะเป็นมากกว่าผู้ชาย คนอ้วนเป็นมากกว่าคนไม่อ้วน และคนในเมืองเป็นมากกว่าคนในชนบท หมายความว่า ในขณะนี้ประชากรไทยที่เป็นโรคเบาหวานมีจำนวนไม่ต่ำกว่า ๓ ล้านคน ที่น่ากังวลคือ ประมาณ ๑ ใน ๓ ไม่รู้ตัวว่า เป็นโรคเบาหวาน นอกจากนี้ประชากรไทยอีกจำนวนมากไม่ต่ำกว่า ๗ ล้านคน มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวานในอนาคต

เมื่อเป็นโรคเบาหวานแล้วมักจะเกิดโรคแทรกซ้อนที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วย ความพิการ หรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ทำให้ผู้ป่วย และครอบครัว มีภาระและต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูงมาก ดังนั้นประเทศไทยจำเป็นต้องมีมาตรการเร่งด่วน เพื่อป้องกัน และลดปัญหาโรคเบาหวานที่คุกคามคนไทย มีความจำเป็นที่คนไทยทุกคนจะต้องรู้จักโรคเบาหวาน ตระหนักถึงปัญหา และภัยของโรคเบาหวาน มีความตื่นตัวเรื่องการดูแลสุขภาพของตนเอง รู้วิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคเบาหวานขึ้น มีการตรวจค้นหา และวินิจฉัยโรคเบาหวานให้ได้เร็วที่สุด เพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสมตั้งแต่ระยะเริ่มแรกที่เป็นโรคนี้  รวมทั้งเพิ่มประสิทธิผลในการดูแลรักษาโรคให้ได้ตามเกณฑ์หรือเป้าหมายที่กำหนด ซึ่งจะช่วยลดอัตราความพิการ  การเสียชีวิตที่เกิดจากโรคเบาหวาน ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล และช่วยให้ผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ใกล้เคียงกับคนปกติทั่วไป

หลินจือมิน ข้อควรปฏิบัติรับมือโรคมะเร็ง ภูมิแพ้ ไขมันในเส้นเลือด โทร 089...





หลินจือมิน ข้อควรปฏิบัติรับมือโรคมะเร็ง ภูมิแพ้ ไขมันในเส้นเลือด

รายละเอียดเพิ่มเติม   http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคมะเร็ง (Cancer) พบได้ในทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่แรกเกิดไปจนถึงผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่จะพบในอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ส่วนในวัยเด็กพบน้อยกว่าในผู้ใหญ่ประมาณ 10 เท่า



โรคมะเร็งที่พบบ่อยของชายไทย เรียงจากลำดับแรก 10 ลำดับ ได้แก่ โรคมะเร็ง ตับ ปอด ลำไส้ใหญ่ ต่อมลูกหมาก ต่อมน้ำเหลือง เม็ดเลือดขาว กระเพาะปัสสาวะ ช่องปาก กระเพาะอาหาร และหลอดอาหาร



โรคมะเร็งพบบ่อยของหญิงไทย เรียงจากลำดับแรก 10 ลำดับ ได้แก่ โรคมะเร็งเต้านม ปากมดลูก ตับ ปอด ลำไส้ใหญ่ รังไข่ เม็ดเลือดขาว ช่องปาก ต่อมไทรอยด์ และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง



โรคมะเร็งพบบ่อยในเด็กไทย เรียงจากลำดับแรก 4 ลำดับ ได้แก่ โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง โรคเนื้องอก/มะเร็งสมอง และโรคมะเร็งนิวโรบลาสโตมา/Neuroblas toma (มะเร็งของประสาทซิมพาทีติก)



โรคมะเร็งคือ โรคซึ่งเกิดมีเซลล์ผิดปกติในร่างกาย และเซลล์เหล่านี้มีการเจริญเติบโตรวดเร็วเกินปกติ ร่างกายควบคุมไม่ได้ ดังนั้นเซลล์เหล่านี้จึงเจริญลุกลามและแพร่กระจายได้ทั่วร่างกายส่งผลให้เซลล์ปกติของเนื้อเยื่อ/อวัยวะต่างๆ เหล่านั้นล้มเหลวไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ เป็นสาเหตุให้เสียชีวิตในที่สุด ได้แก่ ปอด ตับ สมอง ไต กระดูก และไขกระดูก


สัญลักษณ์ของโรคมะเร็ง

“ปู” เป็นสัญลักษณ์ของโรคมะเร็ง คำว่า มะเร็ง หรือ Cancer มาจากภาษากรีก คือ Carcinos ซึ่งแปลว่า ปู (Crab) เนื่องจากก้อนเนื้อมะเร็งมีลักษณะลุกลามออกไปจากตัวก้อนเนื้อเหมือนกับขาปูที่ออกไปจากตัวปู ซึ่งคนแรกที่ใช้ศัพท์นี้ คือ ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) บิดาแห่งการแพทย์ตะวันตก



เนื้องอก คือ ก้อน ตุ่ม ที่โตขึ้นผิดปกติ เกิดจากเซลล์หรือเนื้อเยื่อในร่างกายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ เนื้องอกชนิดธรรมดา และเนื้องอกชนิดร้ายหรือมะเร็ง



โรคมะเร็ง คือ โรคของเซลล์ ที่มีการเจริญเติบโตอย่างผิดปกติกลายเป็นก้อนมะเร็งซึ่งสามารถบุกรุก ทำลายเนื้อเยื่อใกล้เคียงและกระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ ได้



โรคมะเร็ง ต่างจากเนื้องอกที่ก้อนเนื้อหรือแผลมะเร็ง โตเร็วลุกลามเข้าอวัยวะข้างเคียง เข้าต่อมน้ำเหลือง และแพร่กระจายเข้าหลอดเลือด/กระแสโลหิต/กระแสเลือด และหลอดน้ำเหลือง/กระแสน้ำเหลือง ไปยังเนื้อเยื่อ/อวัยวะต่างๆ ได้ทั่วร่างกาย โดยมักแพร่สู่ปอด ตับ สมอง กระดูก และไขกระดูก ดังนั้นโรคมะเร็งจึงเป็นโรคเรื้อรัง รุนแรง มีการรักาที่ซับซ้อนและต่อเนื่อง



โรคเนื้องอก ได้แก่ มีก้อนเนื้อผิดปกติ แต่โตช้า ไม่ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อ/อวัยวะข้างเคียง เพียงกดหรือเบียดเมื่อก้อนโตขึ้น ไม่ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลือง ไม่แพร่กระจายทางกระอสโลหิต และทางกระแสน้ำเหลือง จึงเป็นโรคที่รักาหายได้โดยเพียงการผ่าตัด


ขบวนการเกิดโรคมะเร็ง

เมื่อร่างกายได้รับสารก่อมะเร็ง เช่น สารเคมี ไวรัส รังสี สิ่งเหล่านี้จะทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงและในที่สุดเซลล์ปกติก็จะกลายเป็นเซลล์มะเร็ง ถ้าระบบภูมิต้านทานของร่างกายไม่สามารถทำลายเซลล์นั้นได้ เซลล์มะเร็งก็จะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วกลายเป็นก้อนมะเร็งต่อไป


สาเหตุของโรคมะเร็ง

ปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน แต่เชื่อว่ามีปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคมะเร็งอยู่หลายประการ ดังนี้


1. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อมภายนอกร่างกาย

1.1 สารเคมีบางชนิด เช่น

สารเคมีในควันบุหรี่ และเขม่ารถยนต์

สารพิษจากเชื้อรา

สารพิษที่เกิดจากเนื้อสัตว์รมควัน ปิ้ง ย่าง ทอด จนไหม้เกรียม

สีย้อมผ้า

สารเคมีบางชนิดที่เกิดจากขบวนการทางอุตสาหกรรม

1.2 รังสีต่างๆ รวมทั้งรังสีอุลตร้าไวโอเลตในแสงแดด

1.3 การติดเชื้อเรื้อรัง เช่น

ไวรัสตับอักเสบ ชนิด บี มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งตับ

ฮิวแมน แพพพิโลมา ไวรัส (Human Papilloma Virus หรือ HPV) อาจมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งของเซลล์เยื่อบุต่างๆ เช่น มะเร็งปากมดลูก

เอบสไตน์ บาร์ ไวรัส (Epstein Barr Virus) มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองหรือมะเร็งโพรงหลังจมูก

เฮลิโคแบคเตอร์ ไพโลรัย (Helicobacter Pylori) มีความสัมพันธ์กับมะเร็งกระเพาะอาหาร

1.4 พยาธิ เช่น พยาธิใบไม้ตับ มีความสัมพันธ์กับมะเร็งท่อน้ำดีในตับ

2. สาเหตุภายในร่างกาย เช่น

2.1 กรรมพันธ์ที่ผิดปกติ

2.2 ความไม่สมดุลทางฮอร์โมน

2.3 ภูมิคุ้มกันที่บกพร่อง

2.4 การระคายเคืองที่เกิดซ้ำๆ เป็นเวลานาน

2.5 ภาวะทุพโภชนาการ เป็นต้น

อาการของโรคมะเร็ง

ไม่มีอาการเฉพาะของโรคมะเร็ง แต่เป็นอาการเช่นเดียวกับการอักเสบของเนื้อเยื่อ/อวัยวะที่เป็นมะเร็ง โดยที่แตกต่างคือ มักเป็นอาการที่แย่ลงเรื่อยๆ และเรื้อรัง ดังนั้นเมื่อมีอาการต่างๆ นานเกิน 1 – 2 สัปดาห์ จึงควรรีบพบแพทย์ อย่างไรก็ตาม อาการที่น่าสงสัยว่าเป็นมะเร็ง ได้แก่

มีก้อนเนื้อโตเร็ว หรือ มีแผลเรื้อรัง ไม่หายภายใน 1 – 2 สัปดาห์ หลังจากการดูแลตนเองในเบื้องตัน

มีต่อมน้ำเหลืองโต คลำได้ มักจะแข็ง ไม่เจ็บ และโตขึ้นเรื่อยๆ

ไฝ ปาน หูด ที่โตเร็วผิดปกติ หรือ เป็นแผลแตก

หายใจ หรือ มีกลิ่นปากรุนแรงจากที่ไม่เคยเป็นมาก่อน

เลือดกำเดาออกเรื้อรัง มักออกเพียงข้างเดียว (อาจออกทั้งสองข้างได้)

ไอเรื้อรัง หรือ ไอเป็นเลือด

มีเสมหะ น้ำลาย หรือ เสลดปนเลือดบ่อย

อาการของโรคมะเร็ง

หลินจือมิน กับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในหลอดเลือด โทร 094 709...





หลินจือมิน กับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในหลอดเลือด

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.Linhzhimin2U.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



นิยามของโรคความดันเลือดสูง

คือวัดความดันเลือด  แล้วพบว่าผิดปกติ  อย่างน้อย  2  ครั้งขึ้นไป ที่ว่าผิดปกติ  คือ  มีค่า SP >= 140 มม.ปรอท และ/หรือ  DP >= 90 มม.ปรอท หรือผู้ป่วยที่กำลังได้รับยาลดความดันอยู่แล้ว วัดได้ความดันเลือดเป็นปกติ โดยบางคนจะสูงเฉพาะค่าใดค่าหนึ่งก็ได้ ในทางแพทย์จะถือเอาตัวเลขตั้งแต่ 160/95 มม.ปรอท ขึ้นไป  กล่าวคือมีความดันตัวบนสูงกว่า 160 หรือมีความดันตัวล่างมากเกิน 95



        ฟังดูอาจสับสน บางคนจึงใช้หลักว่า หากตรวจพบความดันเท่ากับหรือมากกว่า 140/90 มม.ปรอท  ถือ เป็นนัยสำคัญ ที่ต้องหาหนทางลดความดันด้วยวิถีธรรมชาติในเรื่องเกี่ยวกับอาหาร การออกกำลังกาย การผ่อนคลายความเครียด  ดำเนินชีวิตลดเลี่ยงปัจจัยที่เป็นพิษต่างๆ ไปพลางก่อน หากพบว่าความดันขึ้นไปถึง  160/95  แปลว่าจำเป็นต้องใช้ยาลดความดันอย่างเลี่ยงมิได้  เพื่อผ่อนคลายโรคแทรกซ้อนต่างๆ  เช่น อัมพาต  อัมพฤกษ์  ไตวาย  ตลอดจนอันตรายถึงชีวิต



อันตราย

        ความดันทุกมม.ปรอทที่เพิ่มขึ้น หมายความว่า แม่ปั๊ม คือ หัวใจ  ต้องทำงานหนักขึ้น โอกาสอ่อนล้าเสื่อมสภาพย่อมตามมา หรืออีกนัยหนึ่ง  ผู้ที่มีความดันเลือดสูงขึ้น  น่าจะมีอายุสั้นลง  เพราะหัวใจอ่อนล้าจากงานหนักกว่าปกตินั่นเอง ผู้ป่วยความดันเลือดสูงที่มิได้รับการรักษา จะมีอายุสั้นลงกว่าบุคคลปกติ  10 – 20  ปี  เนื่องจากเกิดการแข็งตีบตันของหลอดเลือดเร็วขึ้น  ยิ่งความดันสูงมากเท่าไร  สิ่งนี้ก็ยิ่งเกิดรุนแรงและเร็วมากขึ้น



        ความดันเลือดสูงมีความสัมพันธ์อย่างมากกับโรคไตชนิดต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นโรคไตอักเสบ  ไตวายเฉียบพลัน  ไตวายเรื้อรัง  หรือโรคไตจากเบาหวาน  ความดันเลือดสูงอาจเกิดขึ้นก่อน แล้วส่งผลให้เป็นโรคไตตามมาภายหลัง  หากมิได้รักษาโรคความดัน… หรือผู้ที่เป็นโรคไตอยู่แล้วหากมิได้รับการรักษา  โรคที่จะตามมาแน่ๆ ก็คือ ความดันเลือดสูง



        การสำรวจในประเทศญี่ปุ่น  พบว่า  ผู้ป่วยที่มีค่า Systolic BP > 140 มม.ปรอท และ Diastolic BP > 90  มม.ปรอท  มีโอกาสพบโรคไตเรื้อรังเพิ่มขึ้นแปรผันตามค่าความดันเลือดที่สูงขึ้น ส่วนผู้ป่วยความดันสูงที่มีโรคไตอยู่ก่อน หากมีความดันเลือดสูงมาก จะทำให้มีอัตราการเสื่อมของไตเร็วกว่าผู้ป่วยโรคไตที่มีความดันโลหิตสูงที่น้อยกว่า กรณีที่มีความดันสูงเพียงเล็กน้อย โดยยังมิได้มีการเสื่อมเสียของอวัยวะปลายทาง หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม จะมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นในระยะ  7 – 10  ปี  โดยที่เกือบ  30%  จะเกิดหลอดเลือดแข็งตีบตัน  มากกว่า 50% จะเกิดผลเสียต่ออวัยวะปลายทาง เช่น หัวใจโต หัวใจล้มเหลว โรคของประสาทตา เป็นต้น ดังนั้น ถึงแม้จะเป็นโรคความดันเลือดสูงเพียงเล็กน้อย ก็จะก่อให้เกิดอันตรายได้ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข



 โคคิวเทน  ช่วยลดความดันได้อย่างไร?

        จากระบบหัวใจหลอดเลือด เปรียบเสมือนปั๊มน้ำวงจรปิด คือ เลือดแดงถูกปั๊มออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย ไปสู่อวัยวะ แล้วซึมผ่านเนื้อเยื่อด้วยระบบหลอดเลือดฝอย เข้าหลอดเลือดดำ เข้าสู่ห้องบนขวาของหัวใจ ห้องบนขวาจะบีบตัวส่งเลือดเข้าสู่ห้องล่างขวา เพื่อให้ห้องล่างขวาส่งเลือดดำไปฟอกที่ปอดฟอกได้เลือดดีแล้วจึงไหลจากปอดสู่ห้องบนซ้าย เพื่อบีบตัวเข้าห้องล่างซ้าย  เป็นครบวงจร



       ช่วงเวลาที่ห้องล่างของหัวใจบีบตัว เราเรียก  Systole ความดันเลือดที่วัดได้ในจังหวะนี้คือ  Systolic pressure หรือ  ความดันตัวบน ห้วงที่ห้องล่างคลายตัวก็เป็นจังหวะที่ห้องบนบีบตัวส่งเลือดผ่านลิ้นหัวใจ  เข้าสู่ห้องล่าง ช่วงจังหวะนี้เรียก Diastole ความดันในช่วงนี้เรียก  Diastolic pressure หรือ  ความดันตัวล่าง

สมุนไพรเห็ดหลินจือแดง กินตอนไหนดี โรคไขมันในเส้นเลือด เบาหวาน ภูมิแพ้ โท...





หลินจือมิน สมุนไพรเห็ดหลินจือแดง กินตอนไหนดี โรคไขมันในเส้นเลือด เบาหวาน ภูมิแพ้

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.jumbolifeshop.com/p/439

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



ไขมันอุดตันในเส้นเลือด สัญญาณอันตรายที่ต้องรู้

มะเร็งและโรคร้าย

ไขมันอุดตันในเส้นเลือด สัญญาณอันตรายที่ต้องรู้

Istock 485531646 m

โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด ใครๆ ก็รู้ถึงอันตรายของโรคนี้ดี เพราะเป็นแล้วอาจอันตรายถึงชีวิต และจะมีความเสี่ยงมากในคนที่อ้วนจะมีความเสี่ยงสูง ดังนั้นการรู้จักและรู้ถึงสัญญาณที่บ่งบอกก็จะเป็นสิ่งที่ดีมาก เพราะจะได้รับมือได้ทันด้วยการไปพบแพทย์เพื่อทำการรักษาต่อไป

สาเหตุ

โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดจะเกิดขึ้น จากการสะสมของไขมันหรือเส้นใยสะสม และค่อยๆก่อตัวเป็นแผ่นไขมันที่ผนังหลอดเลือดแดงใหญ่ ซึ่งแผ่นไขมันที่ก่อตัวขึ้นนี้จะทำให้หลอดเลือดแดงแคบลงและอาจไปลดเลือดที่จะไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจและสมองจึงทำให้มีอาการ เช่น คออักเสบ หรือภาวะขาดเลือดได้เนื่องจากการอุดตันของทางเดินเลือดฉับพลัน นอกจากนี้แผ่นไขมันยังจะสามารถแตกได้ทำให้ไปปิดกั้นกระแสเลือดทั้งหมดแบบฉับพลัน หากเกิดที่หัวใจจะทำให้เป็นโรคหัวใจวาย และหากเกิดในสมองจะทำให้เป็นโรคเส้นเลือดในสมองอุดตัน ซึ่งสาเหตุของโรคนี้อาจจะมาจาก

กรรมพันธุ์

รับประทานอาหารพวกแป้งมากเกินไป

อ้วน หรือมีน้ำหนักเกิน

ไม่ออกกำลังกาย

เพศ/อายุ

การดื่มสุรามาก

เครียด

กินยาบางชนิด เช่น ยาฮอร์โมน Steroid

โรคบางอย่างที่มักจะเป็นร่วมกับภาวะไขมันสูงได้แก่ โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต และต่อมธัยรอยด์ ทำงานน้อย



สัญญาณอันตรายของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด

เกิดอาการเหนื่อยง่ายกว่าปกติ ไม่ว่าจะเป็นการเดินขึ้นบันได เดินขึ้นเนิน หรือแค่ออกกำลังกายเบาๆ ก็เหนื่อย

มีอาการเวียนศีรษะ หน้ามืด คล้ายๆจะเป็นลม

ปวดศีรษะมาก เมื่อตอนลุกขึ้นจากที่นอน หรือว่าลุกนั่งเร็วๆ

ใจสั่น ใจเต้นเร็ว และปลายมือปลายเท้าเย็น

แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก เหมือนกับมีอะไรมากดทับ

ซึ่งลักษณะอาการโดยทั่วไปจะคล้ายๆ กับอาการของโรคหัวใจ ที่เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจตีบ เพราะจะมีเลือดไหลเวียนในหัวใจไม่เพียงพอ เลือดจึงไม่สามารถที่จะสูบฉีดไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้ จึงทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายนั่นเอง

ปัจจัยเสี่ยงของโรคไขมันอุดตันเส้นเลือด

ปล่อยให้มีน้ำหนักเกินจนเป็นโรคอ้วน

ทานอาหารที่มีไขมันไม่ดีต่อร่างกายเป็นจำนวนมากเกินไป และไม่ทานผักผลไม้

ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

อายุมากขึ้น และเพศชายจะมีโอกาสเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง

มีประวัติว่าสมาชิกในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้ หรือเป็นโรคเบาหวาน ความดันไขมัน

ชอบสูบบุหรี่ หรือดื่มแอลกอฮอล์

มีภาวะเครียดจากการทำงาน หรือมีเรื่องอื่นๆที่กังวลใจ



วิธีการรักษา

รักษาโดยใช้ยา

เป็นวิธีการรักษาในรายที่เป็นไม่มาก หรือช่วยบรรเทาอาการแน่นหน้าอกหรือเหนื่อยหอบ ซึ่งอาจใช้เป็นวิธีการรักษาเดี่ยวๆ หรือใช้ร่วมกับการรักษาด้วยวิธีอื่นก้ได้

รักษาด้วยการสวนหัวใจทำบอลลูนขยายเส้นเลือด

ไม่สามารถทำการรักษาได้ทุกราย

จะทำได้เฉพาะรายที่เส้นเลือดมีการตีบเฉพาะจุดอย่างชัดเจน และตีบมากกว่า 50% ขึ้นไป

มักทำรายที่มีเส้นเลือดหัวใจตีบ 1-2 เส้น

ไม่ควรทำในรายที่มีความเสี่ยงสูง เช่น เส้นเลือดตีบที่บริเวณโคนของเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ด้านซ้าย เป็นต้น

การผ่าตัดเปลี่ยนเส้นเลือด

จะใช้เส้นเลือดบริเวณ แขนทั้งสองข้าง หรือขาทั้งสองข้าง แล้วนำเส้นเลือดนั้นมาใช้เปลี่ยนบริเวณหัวใจแทนเส้นเลือดเดิมที่มีการอุดตัน เมื่อเปลี่ยนแล้วจะมีความรู้สึกว่าได้เกิดใหม่ แต่อาการที่ตามมา คือ จะรู้สึกชาบริเวณแผลเป็นในบางครั้ง เพราะว่าเส้นเลือดขาดหายไป

หากไม่อยากเป็นโรคนี้ก็ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง อีกทั้งควรทานอาหารดีมีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่และออกกำลังกายอย่างเป็นประจำ

รักใครให้ หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง โทร 09...





รักใครให้ หลินจือมิน สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง

รายละเอียดเพิ่มเติม   http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife


โรคไขมันในเลือดสูงมีอาการอย่างไร?

อาการจากโรคไขมันในเลือดสูงได้แก่

ผู้ป่วยภาวะ Familial cholesterolemia (FM) ที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกิดบนโคร โมโซมทั้ง 2 แท่ง (Homozygous FM) จะมีระดับคอเลสเทอรอลสูงมากกว่า 500 mg/dl ขึ้นไปตั้งแต่แรกเกิด และตรวจพบก้อนไขมันที่เกิดจากคอเลสเตอรอลสะสมขนาดเล็กๆสีเหลืองอยู่ตามผิวหนังและเส้นเอ็น (เรียกว่า Xanthoma) โดยมักพบที่เส้นเอ็นที่ข้อเท้า เส้นเอ็นข้อนิ้วมือ ตามข้อศอก ข้อเข่า และบริเวณก้น บริเวณเปลือกตาก็อาจมีไขมันไปสะสมเช่นกัน ซึ่งจะเห็นเป็นแผ่นสีเหลืองๆเรียกว่า Xanthelasma และเกิดหลอดเลือดแดงใหญ่แข็งตัว (Atherosclero sis) ตั้งแต่วัยเด็ก ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและเกิดอาการของหัวใจขาดเลือด ผู้ป่วยที่ไม่ได้กินยารักษาส่วนใหญ่จะเสียชีวิตก่อนอายุ 20 ปี

ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมที่เกิดบนโครโมโซมเพียงแท่งเดียว (Heterozy gous FM) จะมีระดับคอเลสเทอรอลประมาณ 200 - 400 mg/dl ตั้งแต่แรกเกิด แต่จะตรวจพบก้อนไขมันและมีอาการของหัวใจขาดเลือด (โรคหลอดเลือดหัวใจ) เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ไปแล้ว โดยประมาณ 50% ของผู้ป่วย Heterozygous FM จะมีโรคหัวใจขาดเลือดก่อนอายุ 60 ปี พ่อหรือแม่ของผู้ป่วยและประมาณครึ่งหนึ่งของพี่น้องของผู้ป่วยที่เป็น Heterozygous FM จะเป็นโรคนี้ด้วยเช่นกัน

ผู้ป่วยที่เป็น Familial defective apoB-100 (FDB) จะมีอาการคล้ายกับผู้ป่วย Heterozy gous FM

ผู้ป่วยที่มีภาะ Autosomal recessive hypercholesterolemia (ARH) จะมีอาการคล้ายกับผู้ป่วย Homozygous FM หรือ Heterozygous FM

ผู้ป่วยที่เป็น Sitosterolemia จะมีอาการคล้ายกับผู้ป่วย FM ร่วมกับมีภาวะเม็ดเลือดแดงแตกเป็นครั้งคราว (มีภาวะซีดและม้ามโตร่วมด้วย)



ผู้ป่วยที่เป็น Polygenic hypercholesterolemia จะมีระดับคอเลสเตอรอลสูงเล็กน้อยถึงปานกลาง แต่ไม่สูงเท่าผู้ป่วยกลุ่มข้างต้น และจะไม่พบก้อนไขมันขนาดเล็กๆ การซักประวัติคนในครอบครัวจะช่วยแยกโรคจากผู้ป่วยที่เป็น FM และ FDB ได้ ดังที่กล่าวตามข้างต้น ประมาณครึ่ง หนึ่งของคนในครอบครัวของผู้ป่วย FM และ FDB จะเป็นโรคนี้ด้วย แต่สำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมีจำนวนคนในครอบครัวที่มีระดับไขมันสูงด้วยน้อยกว่า 10%

ผู้ป่วยที่เป็น Familial chylomicronemia syndrome จะวัดระดับไตรกลีเซอไรด์ได้มากกว่า 1,000 mg/dl ตั้งแต่วัยเด็ก ระดับคอเลสเทอรอลสูงปานกลาง น้ำเลือด (Serum) ของผู้ป่วยเหล่านี้จะมีสีออกขาวขุ่น และถ้าตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสประมาณ 2 - 3 ชั่วโมงจะเห็นชั้นที่แยกตัวเป็นครีมไขมันสีขาวชัดเจน การที่มีระดับไตรกลีเซอไรด์ที่สูงมากเช่นนี้จะทำให้มีตับอักเสบเกิดขึ้นได้บ่อยๆ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดท้องเป็นๆหายๆจากตับอักเสบตั้งแต่วัยเด็ก ไม่พบก้อนไขมันชนิดที่เรียกว่า Xanthoma แต่จะพบตุ่มนูนเล็กๆของไขมัน สีขาวๆเหลืองๆ ซึ่งเรียกว่า Eruptive xanthoma แทน ซึ่งจะพบบริเวณแผ่นหลัง บริเวณก้น แขน และขา ตุ่มนูนชนิดนี้อาจมีอาการคันได้ นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจมีตับ ม้าม โต ซึ่งเกิดจากการที่กลุ่มไขมันชนิด Chylomicron เข้าไปสะสมอยู่ที่ตับและม้าม ผู้ป่วยโรคนี้ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดตั้งแต่อายุยังน้อย

ผู้ป่วยที่เป็น Familial dysbetalipoproteinemia (FDBL) จะปรากฏก้อนไขมัน Xanthoma เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ เส้นลายมือจะมีสีออกเหลืองส้มเนื่องจากมีไขมันไปสะสม ผู้ป่วยจะมีระดับคอเลสเทอรอลสูง แต่ถ้าวัดระดับของกลุ่มไขมัน LDL จะต่ำกว่าปกติ ระดับกลุ่มไขมัน HDL จะปกติ ผู้ป่วยโรคนี้จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจขาดเลือดตั้งแต่อายุยังน้อย

ผู้ป่วยที่เป็น Familial hypertriglyceridemia (FHTL) ผู้ป่วยจะมีระดับไตรกลีเซอไรด์อยู่ใน ช่วง 250 - 1,000 mg/dl ระดับคอเลสเทอรอลขึ้นสูงไม่เกิน 250 mg/dl ระดับกลุ่มไขมัน HDL ต่ำกว่าปกติเล็กน้อย และระดับกลุ่มไขมัน LDL ที่ค่อนข้างปกติ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะไม่มีก้อนไขมัน Eruptive xanthoma และ Xanthoma ปรากฏให้เห็น ผู้ป่วยโรคนี้ไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด

ผู้ป่วยที่เป็น Familial combined hyperlidemia (FCHL) จะมีระดับไตรกลีเซอไรด์อยู่ในช่วง 200 - 800 mg/dl ระดับคอเลสเทอรอลอยู่ในช่วง 200 - 400 mg/dl ระดับกลุ่มไขมัน HDL ต่ำกว่าปกติ และระดับกลุ่มไขมัน LDL หรือ VLDL สูงกว่าปกติ ผู้ป่วยจะไม่มีก้อนไขมัน Eruptive xanthoma และ xanthoma ปรากฏให้เห็น ประมาณ 20% ของผู้ป่วยโรคนี้จะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดที่อายุน้อยกว่า 60 ปี

แพทย์วินิจฉัยโรคไขมันในเลือดสูงได้อย่างไร?

ตามแนวทางของผู้เชี่ยวชาญของกลุ่ม Adult Treatment Panel (ATP) และ National Cholesterol Education Program (NCEP) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้แนะนำให้ผู้ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไปควรเจาะเลือดตรวจหาระดับไขมันในเลือดคือ คอเลสเทอรอล ไตรกลีเซอไรด์ ไขมัน LDL และไขมัน HDL โดยเจาะเมื่องดอาหารเป็นเวลาอย่างน้อย 12 ชั่วโมง

หลังจากได้ค่าไขมันชนิดต่างๆแล้วพบว่ามีความผิดปกติ อันดับแรกจะต้องหาสาเหตุว่าเกิดจากมีโรคอื่นๆที่ทำให้ระดับไขมันผิดปกติอยู่หรือไม่เช่น โรคเบาหวาน ภาวะไทรอยด์ฮอร์ โมนต่ำ (ภาวะขาดไทรอยด์ฮอร์โมน) เป็นต้น


หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ช่วยโรคเบาหวาน ความดัน ภูมิแพ้ โทร 094 709 4444





หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดง ช่วยโรคเบาหวาน ความดัน ภูมิแพ้

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.Linhzhimin2U.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



การเกิดโรคเบาหวานมีความสัมพันธ์กับฮอร์โมนที่สร้างจากตับอ่อน คือ ฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) อินซูลินจะเป็นตัวนำน้ำตาลซึ่งเป็นน้ำตาลกลูโคส (Glucose) จากเลือดเข้าสู่เซลล์ของอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย เช่น สมอง ตับ ไต และหัวใจ ทั้งนี้เพื่อให้เซลล์ต่างๆนำกลูโคสไปใช้เป็นพลังงานในการทำงานต่างๆของเซลล์ทุกชนิดทั่วร่างกาย หรือที่เราเรียกว่า การสันดาป หรือเมตาโบลิซึม (Metabolism) แต่เมื่อเกิดความผิดปกติต่างๆ เช่น ตับอ่อนสร้างอินซูลินได้น้อยกว่าปกติ หรือเกิดความผิดปกติบางอย่างที่ทำให้เซลล์ไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้ได้ ถึง แม้ตับอ่อนสร้างอินซูลินได้ตามปกติ ที่เรียกว่า เซลล์ดื้อต่ออินซูลิน (Insulin resistance) หรือเกิดทั้งสองเหตุการณ์พร้อมกัน จึงส่งผลให้มีน้ำตาลเหลือคั่งในเลือดสูงมากขึ้นกว่าปกติ ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดอาการผิดปกติต่างๆขึ้น ซึ่งก็คือโรคเบาหวานนั่นเอง

ทั้งนี้ สาเหตุที่ทำให้เกิดความผิดปกติเหล่านี้ขึ้นนั้นยังไม่ทราบชัดเจน แต่จากการศึกษาพบว่า เป็นกระบวนการที่ซับซ้อนซึ่งเกิดจากทั้งพันธุกรรมและวิถีทางในการดำเนินชีวิต (Life style) ร่วมกัน

ใครบ้างมีปัจจัยเสี่ยงเป็นเบาหวาน?

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ได้แก่

โรคอ้วนและน้ำหนักตัวเกิน ซึ่งส่งผลให้เซลล์ต่างๆดื้อต่ออินซูลิน

ขาดการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายจะช่วยควบคุมน้ำหนัก และช่วยให้เซลล์ต่างๆไวต่อการนำน้ำตาลไปใช้ หรือช่วยการเผาผลาญน้ำตาลในเลือดได้ดีนั่นเอง

พันธุกรรม เพราะพบว่า คนที่มีครอบครัวสายตรง (พ่อ แม่ พี่ น้อง ท้องเดียวกัน) เป็นเบาหวานมีโอกาสเป็นเบาหวานสูงกว่าคนทั่วไป

เชื้อชาติ เพราะพบว่า คนบางเชื้อชาติเป็นเบาหวานสูงกว่า เช่น ในคนเอเชียและในคนผิวดำ

อายุ ยิ่งอายุสูงขึ้น โอกาสเป็นเบาหวานยิ่งสูงขึ้น อาจจากการเสื่อมถอยของเซลล์ตับอ่อน หรือขาดการออกกำลังกายจากสุขภาพที่เสื่อมถอย



มีไขมันในเลือดสูง

มีความดันโลหิตสูง

เบาหวานมีอาการอย่างไร?

อาการหลักสำคัญของเบาหวาน คือ หิวบ่อย กระหายน้ำ และปัสสาวะปริมาณมากและบ่อย นอกจากนั้น เช่น

เหนื่อย อ่อนเพลีย

ผิวแห้ง คัน

ตาแห้ง

อาการชาเท้าหรือรู้สึกเจ็บแปลบที่ปลายเท้าหรือที่เท้า

ผอมลงโดยหาสาเหตุไม่ได้

เมื่อเกิดแผลในบริเวณต่างๆแผลมักหายช้ากว่าปกติโดยเฉพาะแผลบริเวณเท้า

บางครั้งสายตาพร่ามัวโดยหาสาเหตุไม่ได้

แพทย์วินิจฉัยเบาหวานได้อย่างไร?

แพทย์วินิจฉัยโรคเบาหวานได้จาก ประวัติอาการ ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ ประวัติการเจ็บ ป่วยของคนในครอบครัว การตรวจร่างกาย และที่สำคัญคือ การตรวจเลือดเพื่อดูปริมาณน้ำตาลในเลือด และ/หรือ ดูสารที่เรียกว่า ฮีโมโกลบินเอวันซี (HbA1C: Glycated hemoglobin)

ค่าปกติของน้ำตาลในเลือดหลังจากอดอาหารอย่างน้อยประมาณ 8 ชั่วโมง (Fasting Blood Sugar หรือเรียกย่อว่า FBS) คือ น้อยกว่า 110 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (มก./ดล.) หรือถ้าตรวจเลือดที่ 2 ชั่วโมงหลังแพทย์ให้กินน้ำตาลประมาณ 75 กรัม (Glucose tolerance Test หรือเรียกย่อว่า จีทีที/ GTT) ค่าน้ำตาลในเลือดน้อยกว่า 140 มก./ดล หรือค่า HbA1C น้อยกว่า 6.5%

เบาหวาน คือ ค่าน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารสูงตั้งแต่ 126 มก./ดล. ขึ้นไป และ/หรือ ค่าจีทีที สูงตั้งแต่ 200 มก./ดล. ขึ้นไป หรือค่า HbA1C มากกว่าหรือเท่ากับ 6.5%

อาจมีการตรวจอื่นๆประกอบด้วย เช่น การตรวจปัสสาวะดูน้ำตาลในปัสสาวะซึ่งจะไม่พบในคนปกติ นอกจากนั้น คือ การตรวจเลือดเพื่อดูการทำงานของไต เพราะเบาหวานมักส่งผลต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง และการตรวจสุขภาพตาโดยจักษุแพทย์ เพื่อเฝ้าระวังผลข้างเคียงของเบา หวานต่อจอตา หรือที่เรียกว่า เบาหวานขึ้นตา

รักษาเบาหวานได้อย่างไร?

แนวทางการรักษาโรคเบาหวาน ต้องควบคู่กันไประหว่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต การใช้ยา และการรักษาควบคุมโรคร่วมต่างๆ หรือโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต คือ การลดน้ำหนัก ควบคุมน้ำหนัก ลดอาหารแป้ง น้ำตาล และไขมัน เพิ่มอาหารผักและผลไม้ และออกกำลังกายสม่ำเสมอตามควรกับสุข ภาพ

ส่วนการใช้ยาจะอยู่ในดุลพินิจของแพทย์ ซึ่งมีทั้งยากินและยาฉีดอินซูลิน รวมทั้งยาต่าง ๆที่ใช้รักษาโรคร่วมต่างๆ เช่น การรักษาควบคุม โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง เป็นต้น

เบาหวานรุนแรงไหม? มีผลข้างเคียงอย่างไร?

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่จัดว่ารุนแรง เป็นโรคที่รักษาไม่หาย ซึ่งความรุนแรงของโรคขึ้น กับผลของการควบคุมโรคได้ คือ การควบคุมน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หรือใกล้เคียงเกณฑ์ปกติที่สุด ดังนั้น ผู้ป่วยเบาหวานจึงต้องดูแลรักษาควบคุมโรคตลอดชีวิต ซึ่งการจะควบ คุมโรคได้ดี ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตามแพทย์/พยาบาลแนะนำอย่างถูกต้องเคร่งครัดและไม่ขาดยา

ผลข้างเคียงที่สำคัญของโรคเบาหวาน คือ เป็นสาเหตุการอักเสบของเนื้อเยื่อต่างๆทุกชนิดในร่างกาย โดยเป็นการอักเสบที่ไม่ติดเชื้อ ซึ่งที่สำคัญ คือ การอักเสบของหลอดเลือด จึงส่งผลให้หลอดเลือดต่างๆตีบแคบลง ส่งผลถึงการขาดเลือดของเนื้อเยื่อ/อวัยวะต่างๆ จึงเกิดโรคต่างๆเป็นผลข้างเคียงตามมาได้ เช่น โรคหัวใจ โรคไตเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดแดงแข็ง และภาวะเบาหวานขึ้นตา

เมื่อเกิดแผล แผลต่างๆจะหายช้า โดยเฉพาะแผลบริเวณเท้า ซึ่งถ้าดูแลไม่ดี (การดูแลเท้าในโรคเบาหวาน) อาจถึงขั้นต้องตัดขา

โรคเบาหวานยังส่งผลให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่างๆลดลงต่ำกว่าคนปกติทั่วไป จึงมีโอกาสติดเชื้อต่างๆได้ง่าย และมักรุนแรง จนถึงขั้นเสียชีวิต (ตาย) ได้ ดังนั้นเมื่อมีการติดเชื้อและมีไข้สูง ผู้ป่วยทุกคนจึงควรรีบพบแพทย์ ภายใน 1 - 2 วัน ไม่ควรละเลยดูแลตนเองนานกว่านี้ นอกจากนั้น คือ ผลข้างเคียงจากยาเบาหวานที่สำคัญ คือ การเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) ซึ่งผู้ป่วยทุกคนต้องรู้จักดูแลตนเองเพื่อป้องกันและเพื่อดูแลตนเองได้ถูก ต้องเมื่อเกิดภาวะนี้ขึ้น


เห็ดหลินจือมินบำรุงสุขภาพ โรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด โทร 088 82...





หลินจือมินบำรุงสุขภาพ โรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเส้นเลือด

รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.jumbolifeshop.com/p/439
โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคเบาหวาน คือ ภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นมากยิ่งกว่าธรรมดา เกิดจากความบกพร่องของการหลั่งฮอร์โมนอินซูลิน หรือร่างกายอาจดื้อต่อการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลินทำให้ฮอร์โมนดังกล่าวทำงานได้ไม่เต็มกำลัง อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำคัญที่สร้างมาจากตับอ่อน ทำหน้าที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่เกณฑ์ธรรมดา รวมทั้งยังทำหน้าที่ช่วยนำน้ำตาลในร่างกายออกมาใช้เป็นพลังงาน เมื่อมีอินซูลินไม่พอ หรือมีปริมาณพอแต่ว่าไม่สามารถออกฤทธิ์ได้เต็มกำลัง น้ำตาลก็จะผิดเอาไปใช้รวมทั้งดำรงอยู่ในเลือด ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะได้ ปัสสาวะจะหวานจนถึงบางเวลามีมดขึ้น ซึ่งเป็นที่มาของชื่อโรคเบาหวานนั่นเอง แม้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงอยู่เป็นระยะเวลาที่ยาวนานจะก่อให้เส้นโลหิตเสื่อมและอวัยวะต่างๆที่หลอดเลือดพวกนั้นมาเลี้ยง นำมาซึ่งโรคแทรกจากเบาหวานอย่างเช่น สมองขาดเลือด (อัมพฤกษ์ อัมพาต) กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หน้าจอประสาทตาเสื่อม ไตเสื่อม แผลเรื้อรัง ฯลฯ

จำพวกของโรคเบาหวาน แบ่งตามสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคได้เป็น 4 จำพวก ดังต่อไปนี้



เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน หรือเบาหวานชนิดที่ 1 เป็นประเภทที่ความรุนแรง โดยมากเกิดขึ้น ในเด็กหรือคนอายุน้อยกว่า 25 ปี ส่วนน้อยที่เจอในคนแก่ เบาหวานชนิดนี้เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เลยหรือสร้างได้น้อยมาก ซึ่งได้ผลจากที่ร่างกายสร้างภูมิต้านทานไปทำลายตับอ่อนของตนจนกระทั่งไม่อาจจะผลิตอินซูลินได้ มั่นใจว่าเป็นความแตกต่างจากปกติทางพันธุกรรม หรือบางรายอาจเป็นเพราะเนื่องจากการต่อว่าดเชื้อหรือได้รับพิษบางสิ่งบางอย่าง การดูแลและรักษาคนป่วยกลุ่มนี้ควรต้องได้รับการดูแลและรักษาด้วยการฉีดอินซูลินทุกวี่ทุกวันเพื่อตอบแทนให้มีจำนวนอินซูลินภายในร่างกายพอเพียง ถ้าเกิดขาดอินซูลินร่างกายจะสลายไขมันมาใช้เป็นพลังงานแทนน้ำตาล นำไปสู่สารคีโตนคั่งในเลือดและก็ทำให้เลือดเป็นกรด นำมาซึ่งการทำให้เสียชีวิตได้

โรคเบาหวานจำพวกไม่พึ่งอินซูลิน หรือโรคเบาหวานประเภทที่ 2 เป็นชนิดที่พบได้มากที่สุดถึงปริมาณร้อยละ 95 ของผู้เจ็บป่วยโรคเบาหวานทั้งหมดทั้งปวง ส่วนใหญ่กำเนิดในคนแก่ที่แก่มากยิ่งกว่า 30 ปี แม้กระนั้นครั้งคราวก็เกิดขึ้นได้ในคนอายุน้อย ตับอ่อนของผู้เจ็บป่วยโรคเบาหวานจำพวกนี้ยังสามารถผลิตอินซูลินได้แม้กระนั้นจำนวนไม่พอ หรือบางรายอาจมีภาวการณ์ซนต่ออินซูลินร่วมด้วย ทำให้อินซูลินออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มกำลัง ตอนนี้เจอผู้เจ็บป่วยโรคเบาหวานจำพวกนี้มากเพิ่มขึ้นเพราะเหตุว่าวิถีชีวิตของคนเราที่แปรไปเป็นแบบสังคมเมือง จำต้องพบเจอกับความเคร่งเครียดต่างๆขาดการบริหารร่างกาย และการนิยมบริโภคอาหารจานด่วนนำมาซึ่งโรคอ้วน ซึ่งความอ้วนนี้เองที่มีความเชื่อมโยงกับภาวการณ์ดื้อรั้นต่ออินซูลินโดยตรง ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากขึ้นจนถึงกำเนิดเบาหวานสุดท้าย

โรคเบาหวานที่เกิดขึ้นจากต้นสายปลายเหตุอื่น โรคเบาหวานจำพวกนี้อาจเป็นเพราะเนื่องจากต้นสายปลายเหตุอื่นที่มีผลต่อการผลิตอินซูลิน เป็นต้นว่า

โรคของตับอ่อน เช่น ตับอ่อนอักเสบ การตำหนิดเชื้อที่ตับอ่อน การผ่าตัดตับอ่อน รวมทั้งโรคมะเร็งตับอ่อน โรคดังที่กล่าวมาข้างต้นทำให้ตับอ่อนผลิตอินซูลินได้ไม่พอที่จะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด

โรคของระบบต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมนบางตัวออกมาต่อต้านฤทธิ์ของอินซูลิน อาทิเช่น กรุ๊ปอาการลุกชชิ่ง (Cushing’s syndrome)

ยาหรือสารเคมีที่ส่งผลต่อตับอ่อน อย่างเช่น สเตียรอยด์ ยากันชัก ยาอัลฟาอินเตอร์เฟอรอน (alpha interferon)

โรคเบาหวานขณะมีท้อง เป็นโรคเบาหวานที่เกิดขึ้นในหญิงขณะมีครรภ์ พบว่าเพศหญิงกรุ๊ปดังที่กล่าวถึงแล้วเมื่อคลอดลูกเป็นระเบียบแล้วในอนาคตจะได้โอกาสเป็นโรคเบาหวานมากยิ่งกว่าสตรีที่ตรวจไม่เจอเบาหวานขณะมีครรภ์มากถึง 7.4 เท่า ด้วยเหตุดังกล่าวหญิงตั้งท้องทุกรายควรจะได้รับการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดด้านใน 6 ถึง 8 อาทิตย์ข้างหลังคลอด รวมทั้งหากผลเลือดธรรมดาก็ควรจะรับการตรวจติดตามทุก 1 ปี

ข้อตกลงนเตือนอันตราย



อาการโรคเบาหวานมีหลายแบบ ตั้งแต่ไม่มีอาการเลย (ภัยเงียบ) จนกระทั่งมีลักษณะไม่ปกติได้แก่ ได้อยากกินน้ำบ่อย เยี่ยวบ่อยมากและก็จำนวนมาก เยี่ยวมีมดตอม รับประทานเก่งมากมายอย่างแตกต่างจากปกติ น้ำหนักลดโดยไม่รู้ต้นเหตุ แผลหายยาก เหน็ดเหนื่อยเปลี่ยนไปจากปกติ คันเรียกตัว เป็นฝีบ่อยครั้ง ปวดแสบปวดร้อนหรือชาปลายมือปลายตีน ตามัวลง ปวดขาหรือเป็นตะคิวเมื่อเดินไกลๆในสตรีอาจมีตกขาวหรือคันช่องคลอดเรื้อรัง ถ้าหากมีลักษณะอาการกลุ่มนี้ควรจะรีบเจอหมอเพื่อตรวจค้นเบาหวาน แต่ผู้เจ็บป่วยจำนวนมากมักไม่มีอาการ จะทราบดีว่าเป็นโรคเบาหวานไหมจากการตรวจสุขภาพเพียงแค่นั้น โดยเหตุนี้คนที่มีการเสี่ยงที่จะกำเนิดเบาหวานควรจะเข้ารับการตรวจคัดเลือกกรองหาเบาหวานตั้งแต่ระยะเริ่มต้นๆ

เปิดบ้านมดดำ หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด แก้ปัญหาโรคความดันสูง เบาหวาน...





เปิดบ้านมดดำ หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด แก้ปัญหาโรคความดันสูง เบาหวาน ภูมิแพ้

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife


โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่ได้รับการขนานนามว่า “เพชฌฆาตเงียบ” เนื่องจากมีความรุนแรงถึงแก่ชีวิตหากไม่ได้รับการวินิจฉัยแต่เนิ่น ทั้งนี้อันตรายของโรคได้แก่การที่หัวใจต้องรับภาระหนักกว่าปกติ จนนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนหลายประการ อาทิ กล้ามเนื้อหัวใจหนาขึ้น หัวใจวาย และไตได้รับความเสียหาย แต่ที่ร้ายแรงที่สุดก็คือ การที่ภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้ดำเนินไปอย่างเงียบเชียบโดยไม่มีสัญญาณบ่งชี้ใดๆ เลย



โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เป็นโรงพยาบาลใจกลางกรุงเทพมหานครที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ โดยเฉพาะการเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของเอเชีย ที่ได้รับการรับรองจาก JCI (Joint Commission International) ซึ่งเป็นองค์กรที่ให้การรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลชั้นนำทั่วโลกทั้งในยุโรป อเมริกาใต้ และตะวันออกกลาง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 คุณจึงมั่นใจได้ว่า จะได้รับบริการที่เป็นเลิศจากโรงพยาบาลที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก



การจัดการกับโรคความดันโลหิตสูง อีกก้าวของพัฒนาการ



โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ช่วยให้คุณรับมือกับโรคความดันโลหิตสูงได้ด้วย 5 บริการหลัก ดังต่อไปนี้

การตรวจและวินิจฉัย

หนทางเดียวที่คุณจะทราบได้ว่ามีอาการของโรคความดันโลหิตสูงก็คือ การตรวจวัดความดันโลหิต ซึ่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากหลากสาขาวิชาของเราได้ร่วมมือกันในการออกแบบโปรแกรมการตรวจสอบและประเมินผลของคุณ

การบำบัดด้วยยา

ตัวยาที่ใช้ควบคุมความดันโลหิตและป้องกันอาการเกี่ยวข้องอื่นๆ อย่างได้ผลนั้นมีอยู่เป็นจำนวนมาก เภสัชกรของเราจะช่วยให้คุณเข้าใจการทำงานของยาแต่ละขนาน ตอบข้อสงสัย และตรวจสอบปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดจากการใช้ยา เช่น ปฏิกิริยาระหว่างยา หรือการใช้ยาซ้ำซ้อน

กายภาพบำบัด

ทีมกายภาพบำบัดของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์จะประเมินอาการของคุณ ก่อนจะออกแบบโปรแกรมออกกำลังกายเฉพาะบุคคลขึ้นมา เพื่อให้คุณสามารถนำไปปฏิบัติได้เองอย่างปลอดภัยและเหมาะสม ซึ่งการออกกำลังกายตามโปรแกรมเพียงครั้งเดียวจะช่วยลดความดันโลหิตลงได้ทันที และเห็นผลชัดเจนเกือบตลอดทั้งวัน ดังนั้น หากปฏิบัติติดต่อกันอย่างสม่ำเสมอก็จะช่วยให้ได้ผลดีมากยิ่งขึ้น



การวางแผนทางโภชนาการ

ทีมโภชนากร เป็นอีกทีมหนึ่งของเราที่พร้อมให้บริการข้อมูล และช่วยในการวางแผนพัฒนารูปแบบการใช้ชีวิตด้วยการเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณประโยชน์ต่อร่างกาย รวมถึงติดตามผลเพื่อให้แน่ใจว่าคุณจะสามารถปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ได้

การตรวจเช็คตนเอง

การรักษาความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ปลอดภัยนั้น จำเป็นต้องตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งเจ้าหน้าที่ของเราจะช่วยให้คุณสามารถวัดความดันโลหิตได้ด้วยตัวเองที่บ้าน เพื่อความสะดวกในการติดตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยแพทย์สามารถใช้ข้อมูลนี้ในการตรวจสอบประสิทธิภาพของตัวยาที่คุณใช้อยู่ นอกจากนี้ การวัดความดันโลหิตด้วยตัวเองยังทำให้คุณได้มีส่วนร่วมในการรักษาสุขภาพของตนเองอีกด้วย



มากกว่าผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ

เพราะโรคความดันโลหิตสูงไม่ได้เกี่ยวข้องเฉพาะกับหัวใจเท่านั้น โปรแกรมการรักษาเราจึงยึดหลักการทำงานเป็นทีมในการรักษาและจัดการกับสาเหตุของโรค โดยทีมงานจะประกอบไปด้วย:

อายุรแพทย์

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคไต

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญระบบต่อมไร้ท่อ

โภชนากร

นักกายภาพบำบัด

เภสัชกร

พยาบาลผู้ประสานงาน



ซึ่งบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเหล่านี้จะทำงานร่วมกันเพื่อช่วยให้คุณบรรลุเป้าหมายของการมีสุขภาพที่ดีในการรักษาความดันโลหิตสูง



เริ่มต้นควบคุมโรคความดันโลหิตสูงตั้งแต่วันนี้

อย่าลืมว่าการควบคุมระดับความดันโลหิตได้แต่เนิ่นๆ จะช่วยป้องกันคุณจากโรคร้ายแรงอีกหลายโรคซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นไตวาย เส้นเลือดในสมองอุดตัน หรือหัวใจวาย



สำหรับผู้ที่ต้องการขอรับการตรวจและต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรมควบคุมโรคความดันโลหิตสูง สามารถติดต่อโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ได้ที่โทร. 0 2667 1000 หรือเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ในหน้านัดหมายและติดต่อสอบถาม หรือส่งอีเมลมาที่ info@bumrungrad.com



ข้อมูลเพิ่มเติม

จากการที่ความดันโลหิตสูงนั้นไม่มีอาการ แต่หากท่านมีอาการแทรกซ้อนอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากโรคความดันโลหิตสูง ควรพบแพทย์อย่างเร่งด่วนเมื่อมีอาการต่อไปนี้

ใจสั่น

เหนื่อยง่าย

ปวดศีรษะและอาเจียนอย่างกะทันหัน

เจ็บหน้าอก

ปวดที่แขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่ง แม้จะเพียงแค่ครู่และหายไปเอง

ตาข้างใดข้างหนึ่งสูญเสียการมองเห็นไปชั่วขณะ


หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ให้คุณกลับมามีสุขภาพ...





หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด สมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ให้คุณกลับมามีสุขภาพแข็งแรง

รายละเอียดเพิ่มเติม  http://www.Linhzhimin2U.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน ถือเป็นปัญหาสุขภาพยอดฮิตที่เรามักจะได้ยินกันอยู่บ่อยๆ เนื่องจากคนไทยป่วยด้วยโรคเบาหวานนี้มากถึง 2-3 ล้านคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยโรคเบาหวานจัดอยู่ในอันดับที่ 5 ของโรคที่คุกคามคนไทยพบได้ในทุกช่วงวัย อย่างไรก็ตาม มีคนอีกจำนวนมากที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานแต่ไม่รู้ตัว ทำให้ละเลยการดูแลสุขภาพอย่างถูกวิธี ซึ่งนั่นหมายความว่า ผู้ป่วยได้ปล่อยให้โรคลุกลามจนอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ ดังนั้น วันนี้ลองมาสำรวจดูว่าคุณอยู่ในข่ายเสี่ยงโรคเบาหวานหรือไม่ พร้อมๆ กับทำความเข้าใจโรคเบาหวานนี้อย่างถูกต้องกันค่ะ


โรคเบาหวาน (Diabetes Millitus) เกิดจากตับอ่อนสร้าง "ฮอร์โมนอินซูลิน"(Insulin) ได้น้อยหรือไม่ได้เลย ฮอร์โมนชนิดนี้มีหน้าที่คอยช่วยให้ร่างกายเผาผลาญน้ำตาลมาใช้เป็นพลังงาน เมื่ออินซูลินในร่างกายไม่พอน้ำตาลก็ไม่ถูกนำไปใช้ ทำให้เกิดการคั่งของน้ำตาลในเลือดและอวัยวะต่างๆ เมื่อน้ำตาลคั่งในเลือดมากๆ ก็จะถูกไตกรองออกมาในปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะหวานหรือมีมดขึ้นได้ จึงเรียกว่า "เบาหวาน" นั่นเอง

ทั้งนี้ โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่ไม่หายขาด และเป็นโรคทางพันธุกรรม โดยพ่อแม่ที่เป็นเบาหวานมีโอกาสถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ นอกจากพันธุกรรมแล้ว สิ่งแวดล้อม วิธีการดำเนินชีวิต การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย ก็มีส่วนสำคัญต่อการเกิดเบาหวานด้วย เช่น อ้วนเกินไป (หรือกินหวานมากๆ จนอ้วน ก็อาจเป็นเบาหวานได้) มีลูกดก หรือเกิดจากการใช้ยา เช่น สเตอรอยด์, ยาขับปัสสาวะ, ยาเม็ดคุมกำเนิด หรืออาจพบร่วมกับโรคอื่นๆ เช่น ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง, มะเร็งของตับอ่อน, ตับแข็งระยะสุดท้าย เป็นต้น

ลักษณะโดยทั่วไปของผู้ป่วย โรคเบาหวาน จะมีอาการปัสสาวะบ่อยและมาก เนื่องจากน้ำตาลที่ออกมาทางไตจะดึงเอาน้ำจากเลือดออกมาด้วย จึงทำให้มีปัสสาวะมากกว่าปกติ เมื่อถ่ายปัสสาวะมาก ก็ทำให้รู้สึกกระหายน้ำ ต้องคอยดื่มน้ำบ่อยๆ และด้วยความที่ผู้ป่วยไม่สามารถนำน้ำตาลมาเผาผลาญเป็นพลังงาน จึงหันมาเผาผลาญกล้ามเนื้อและไขมันแทน ทำให้ร่างกายผ่ายผอม ไม่มีไขมัน กล้ามเนื้อฝ่อลีบ อ่อนเปลี้ย เพลียแรง นอกจากนี้ การมีน้ำตาลคั่งอยู่ในอวัยวะต่างๆ จึงทำให้อวัยวะต่างๆ เกิดความผิดปกติ และนำมาซึ่งภาวะแทรกซ้อนมากมาย



เบาหวานแบ่งออกเป็น2 ประเภท ได้แก่

เบาหวานประเภทที่หนึ่ง พบค่อนข้างน้อยประมาณร้อยละ 5 ของผู้ป่วยเบาหวานไทย เบาหวานประเภทนี้เกิดจากการที่ตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เลย ผู้ป่วยจำเป็นต้องพึ่งการฉีดอินซูลินอย่างสม่ำเสมอ ไม่เช่นนั้นอาจก่อให้เกิดภาวะขาดอินซูลิน และระดับน้ำตาลในเลือดสูงมากจนกระทั่งหมดสติ และเสียชีวิตแบบเฉียบพลันได้ โรคเบาหวานประเภทที่หนึ่งมักจะพบในเด็กและวัยรุ่น มีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการที่ภาวะภูมิต้านทานทำลายเซลล์ที่สร้างอินซูลินในตับอ่อน นอกจากนี้ ระดับน้ำตาลที่สูงเรื้อรังจะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังต่อไป

เบาหวานประเภทที่สอง เป็นชนิดที่พบได้บ่อยคิดเป็นร้อยละ 95 ของผู้ป่วยเบาหวานไทยโดยเฉพาะในกลุ่มคนอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป เบาหวานประเภทที่สองเกิดจากการที่ตับอ่อนของผู้ป่วยไม่สามารถสร้างอินซูลินให้เพียงพอ และร่างกายมีภาวะดื้ออินซูลิน เบาหวานประเภทนี้มักไม่พบอาการอันตรายอย่างเฉียบพลันเหมือนแบบแรก แต่หากไม่มีการควบคุมให้ดีก็จะนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังที่เป็นอันตรายอย่างเฉียบพลันได้เช่นกัน

ตามหลักทางวิทยาศาสตร์ภูมิคุ้มกันวิทยาแล้ว ในผู้ป่วยเบาหวาน เม็ดเลือดขาวหลั่งสาร TNF-α, INF-ϒ และ IL-17 มากไปจนเกินความสมดุลโดย TNF-α และINF-ϒ จะเข้าไปทำลายเบต้าเซลล์ในตับอ่อน จนทำให้สร้างอินซูลินได้น้อยลง (เบาหวานชนิดที่ 1 หรือ 2) และสารทั้งสองนี้ยังทำให้เกิดสภาวะดื้อต่ออินซูลินของเซลล์ (เบาหวานชนิดที่ 2) ส่วน IL-17 จำทำให้สภาวะการแพ้ภูมิตัวเองรุนแรงขึ้นจึงทำให้เบาหวาน ซึ่งเป็นอาการหนึ่งของการแพ้ภูมิตัวเอง รุนแรงขึ้นด้วย

กว่า 38 ปีแล้วที่คณะนักวิจัย และนักวิทยาศาสตร์ จากคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และคณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำการค้นคว้าวิจัยใน “ผลมังคุด” นำทีมโดย ศ.ดร.พิเชษฐ์ วิริยะจิตราได้วิจัย และพัฒนาจนค้นพบว่า สาร GM-1 มีประสิทธิภาพสูง และยังพัฒนาต่อยอดโดย มีสารสกัดเสริมประสิทธิภาพจาก งาดำ ถั่วเหลือง ฝรั่ง และบัวบก จนได้แคปซูลเสริมอาหารที่พิสูจน์โดยศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวการแพทย์ว่าสามารถลดการหลั่งสาร TNF-α, INF-ϒ และ IL-17 และระดับน้ำตาลในเลือด หรือโรคเบาหวานได้อีกด้วย จึงเป็นผลิตภัณฑ์ ที่สามารถตอบสนอง สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเบาหวาน และอาการข้างเคียงที่เกิดจากเบาหวาน เช่น โรคหลอดเลือด โรคตับ โรคไตเสื่อม ความดันสูง เป็นต้น

สารสกัดจากธรรมชาติ ทั้ง 5 ชนิดได้แก่ มังคุด ถัวเหลือง งาดำ บัวบก และ ฝรั่ง ช่วยไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาว ให้ไปทำงานโดยการปรับภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้สมดุล สามารถระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเบาหวาน และอาการข้างเคียงที่เกิดจากเบาหวาน เช่น โรคหลอดเลือด โรคตับ โรคไตเสื่อม หรือไตวาย ความดันสูงเป็นต้น รวมถึงช่วยดูแลร่างกายของคุณให้ใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวได้ยาวนานและ ใช้ชีวิตประจำวันอย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด อาการโรคเบาหวาน ไขมันในหลอดเลือด ภูมิแพ้ โ...





หลินจือมิน เห็ดหลินจือแดงสกัด อาการโรคเบาหวาน ไขมันในหลอดเลือด ภูมิแพ้

รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.jumbolifeshop.com/p/439

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife


โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)เป็นโรคที่มีระดับไขมันในเลือดสูงกว่าค่าที่ถูกกำ หนดขึ้น ซึ่งค่าธรรมดานี้ได้มาโดยการเก็บข้อมูลทางสถิติของระดับไขมันในเลือดของคนทั่วๆไป โดยพบว่าเมื่อมีค่าเกินระดับหนึ่งแล้วบุคคลนั้นๆก็จะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจและก็ตามมาเป็นโรคหัวใจขาดเลือด (กล้ามเนื้อหัวใจตาย) การที่บุคคลใดควรมีระดับไขมันเท่าไร แล้วก็จะเลือกการรักษาแบบไหนขึ้นอยู่กับว่ามีความเสี่ยงอื่นๆร่วมด้วยอีกกี่การเสี่ยง ดังนั้นการกำหนดระดับไขมันในแต่ละคนก็เลยบางทีอาจแตกต่างกัน

โดยรวมโรคนี้เจอในคนเชื้อชาติตะวันตกมากกว่าคนเชื้อชาติเอเชีย แล้วก็เจอในผู้ที่อาศัยในเขตเมืองมากกว่าในเขตชนบท สำหรับในประเทศไทย สสช.ไม่ได้เก็บรวบ รวมข้อมูลผู้ป่วยที่มีโรคไขมันในเลือดสูง แต่ว่าอย่างไรก็ตาม มีแนวโน้มที่โรคนี้จะพบมากขึ้นเรื่อยๆสาเหตุมาจากการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตและการบริโภคเป็นหลัก

ไขมันมีกระบวนการเมตาบอลิซึมยังไง?

ไขมันในเลือดสูง

กรรมวิธีการเมตาบอลิซึม (Metabolism, กระบวนการทางเคมีเพื่อนำสารต่างๆไปใช้เพื่อ ให้กำเนิดพลังงานใช้สำหรับในการเติบโตของเซลล์) ของไขมันเริ่มจากเมื่อพวกเราทานอาหารที่มีไขมันซึ่งมีทั้งยังไขมันคอเลสเตอรอล (Cholesterol) รวมทั้งไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ก็จะถูกลำไส้เล็กดูดซับไปสู่กระแสโลหิต และก็จะไปจับกับโปรตีนที่ชื่อ Apolipoprotein (ชื่อย่อเป็น Apo ซึ่งมีอยู่หลากหลายประเภท แต่ละจำพวกมีบทบาทไม่เหมือนกันไป) ร่วมกับส่วนประกอบอื่นๆอีกเปลี่ยน เป็นกรุ๊ปไขมันที่ชื่อว่า Chylomicron ซึ่งเป็นกรุ๊ปไขมันที่มีอนุภาคขนาดใหญ่ มีไตรกลีเซอไรด์อยู่มากมาย (เป็นมีไตรกลีเซอไรด์ 80 - 95% มีคอเลสเทอคอยล 2 - 7%) Chylomicron นี้จะเดิน ทางไปทั่วร่างกาย แล้วก็ปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันรวมทั้งเซลล์กล้ามใช้ทำ งานโดยอาศัยโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี (Enzyme, สารเคมีที่มีบทบาทรีบปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทางเคมีต่างๆ) ที่ชื่อว่า Lipopro tein lipase (คนที่มีโปรตีนที่ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมีจำพวกนี้ดำเนินงานไม่ปกติก็เลยหรูหราไตรกลีเซอไรด์สูง) ต่อไป กรุ๊ปไขมัน Chylomicron ก็จะมีขนาดที่เล็กลงแล้วก็เดินทางไปสู่ตับถัดไป

ตับจะผลิตกรุ๊ปไขมันที่ชื่อ VLDL ไปสู่กระแสโลหิต (มีไตรกลีเซอไรด์ราวๆ 55 - 80 %) และก็เดินทางไปทั่วร่างกาย ปล่อยไตรกลีเซอไรด์ไปให้เซลล์ไขมันแล้วก็เซลล์กล้ามใช้งาน และก็เปลี่ยนเป็นกรุ๊ปไขมันที่มีขนาดเล็กลงลายมือชื่อ แอลดีแอล (LDL, Low-density lipopro tein) ซึ่งจะมีคอเลสเตอรอลเป็นส่วนประกอบหลัก LDL นี้โดยส่วนมากก็จะกลับไปสู่ตับโดยอา ศัยตัวรับ (Receptor) กลับสู่ตับที่ชื่อ LDL receptor (คนที่มีความผิดธรรมดาของ LDL receptor ก็เลยวัดระดับกรุ๊ปไขมัน LDL หรือคอเลสเทอรอคอยลในเลือดได้สูงนั่นเอง) LDL ที่เหลือจะถูกอวัยวะอื่นๆใช้ประโยชน์งานเป็นต้นว่า รังไข่เอาไปใช้ผลิตฮอร์โมน



อะไรเป็นต้นเหตุของโรคไขมันในเลือดสูง?

โรคไขมันในเลือดสูงมีมูลเหตุได้จาก

สาเหตุจากกรรมวิธีการเมตาบอลิซึมของไขมันที่เปลี่ยนไปจากปกติเอง

ต้นสายปลายเหตุที่ทำให้หรูหราคอเลสเตอรอลสูงขึ้นยิ่งกว่าธรรมดา แม้กระนั้นระดับไตรกลีเซอไรด์ธรรมดา

มีต้นเหตุที่เกิดจากความไม่ดีเหมือนปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวพันกับตัวรับไขมันประเภท LDL (LDL recep tor) ซึ่งเรียกสภาวะนี้ว่า Familial cholesterolemia (FM) โดยถ้าเกิดความแตกต่างจากปกติของกรรมพันธุ์กำเนิดบนโครโมโซม (Chromosome) ทั้งยัง 2 แท่ง (ที่คู่กัน) ที่เรียกว่า Homozygous จะเจอโรคนี้ได้ราวๆ 1 คนภายใน 1 ล้านคน แม้กระนั้นหากความแปลกกำเนิดบนโครโมโซมเพียงแค่แท่งเดียว (Hetero zygous) จะเจอโรคนี้ได้ราวๆ 1 คนภายใน 500 คน

มีต้นเหตุมาจากเหตุสภาพแวดล้อมข้างนอกร่วมกับมีกรรมพันธุ์บางสิ่งบางอย่างที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการมีไขมันในเลือดสูงเรียกภาวการณ์นี้ว่า Polygenic hypercholesterolemia ต้นสายปลายเหตุนี้เป็นต้นเหตุที่พบได้บ่อยที่สุด กรรมพันธุ์ที่เกี่ยวกับต้นสายปลายเหตุนี้อาจมีหลายตัวบนหลายโครโมโซม ซึ่งปัจจุบันนี้ยังไม่เคยทราบจำพวกกรรมพันธุ์ที่แน่ชัด ซึ่งต้นสายปลายเหตุจากสภาพแวดล้อมเช่น การกินของกินที่มีไขมันเป็นสัดโดยมากเกิน ไป, การกินของกินที่มีไขมันอิ่มตัวสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), มีไขมันประเภทคอเลส เทอคอยลสูง (มักเป็นไขมันจากสัตว์), รับประทานอาหารที่มีใยอาหาร (ผัก ผลไม้) น้อย, การมีน้ำหนักตัวเกิน, ดื่มแอลกอฮอล์, ไม่บริหารร่างกาย, การใช้งานเครื่องอำนวยความสะดวกมากจนเกินไป ซึ่ง หมดเป็นวิถีชีวิตส่วนมากของคนภายในเมือง

มีเหตุที่เกิดจากความไม่ดีเหมือนปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวโยงกับโปรตีนที่ประกอบกับไขมันชื่อ Apo B-100 เรียกสภาวะนี้ว่า Familial defective apo B-100 (FDB) เจอเป็นต้นเหตุได้น้อยมาก ชู เว้นในคนเชื้อชาติเยอรมันที่เจอได้มากถึง 1 คนภายใน 1,000 คน

มีสาเหตุจากความแตกต่างจากปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวพันกับตัวรับไขมันประเภท LDL (LDL recep tor) เฉพาะที่อยู่บนตับเรียกว่า Autosomal recessive hypercholesterolemia (ARH) เจอเป็นต้นเหตุได้น้อยมาก เว้นเสียแต่ในคนเชื้อชาติอิตาลีที่พบบ่อย

มีเหตุที่เกิดจากความเปลี่ยนไปจากปกติของกรรมพันธุ์ที่เกี่ยวโยงกับการดูดซึมไขมันที่ลำไส้เล็กส่วนต้น เรียกภาวการณ์นี้ว่า Sitosterolemia เจอสภาวะนี้ได้น้อยมากเช่นเดียวกัน

ปัจจัยที่ทำให้มีระดับไตรกลีเซอไรด์แล้วก็ระดับคอเลสเตอรอลสูงยิ่งกว่าธรรมดา

เห็ดหลินจือแดง ราชาสมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ไขมันในเส้นเลือด โ...





เห็ดหลินจือแดง ราชาสมุนไพรช่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ไขมันในเส้นเลือด

ละเอียดเพิ่มเติม http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



โรคเบาหวานเป็นอย่างไร

โรคเบาหวานหมายถึงภาวะที่มีระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงตั้งแต่ 126 มิลลิกรัม/ดล. (โดยวัดได้จากตอนหลังงดอาหาร 8 ชั่วโมง) เนื่องจากการขาดอินซูลินหรือดื้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน ทำให้ร่างกายไม่สามารถเผาผลาญน้ำตาลไปใช้ได้หมด ก็เลยเหลือน้ำตาลหลงเหลือในกระแสเลือดมากมาย ซึ่งถ้าหากเกิดขึ้นเสมอๆจะมีผลให้เป็นโรคเบาหวาน แล้วก็ในระยะยาวจะส่งผลสำหรับการทำลายหลอดเลือด ทำลายระบบประสาทส่วนปลาย และก็นำมาซึ่งภาวะแทรกซ้อนรุนแรงต่างๆได้



โรคเบาหวานแบ่งได้ 2 จำพวก



โรคเบาหวานจำพวกที่ 1 พบได้น้อย ราวร้อยละ 5 ของคนไข้เบาหวานไทย ชนิดนี้เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ จึงจะต้องฉีดอินซูลินอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดอินซูลิน และไม่ให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกระทั่งกำเนิดไป เพราะว่าบางทีอาจสลบ และก็เสียชีวิตได้อย่างฉับพลัน พบมากในเด็กรวมทั้งวัยรุ่น

โรคเบาหวานจำพวกที่ 2 พบมาก ราวๆจำนวนร้อยละ 95 ของคนเจ็บโรคเบาหวานไทย แล้วก็จำนวนมากจะเป็นในกลุ่มชนอายุ 40 ปีขึ้นไป มีต้นเหตุมาจากตับอ่อนไม่อาจจะสร้างอินซูลินไปใช้ได้อย่างพอเพียง แล้วก็ร่างกายเกิดภาวะซนอินซูลิน จำพวกนี้มักไม่อาการอย่างฉับพลัน แต่ว่าถ้าเกิดขาดการควบคุม ก็สามารถนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังที่มีอันตรายอย่างฉับพลันได้ ควรควบคุมน้ำหนัก ควบคุมการรับประทานอาหาร แล้วก็บริหารร่างกาย

ฮอร์โมนอินซูลินมีความหมายต่อสภาพร่างกายเช่นไร



อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำคัญตัวหนึ่งของร่างกาย เนื่องจากร่างกายมนุษย์เรานั้นรับประมานอาหารเข้าไปแต่ละวัน มีการเปลี่ยนแปลงแป้ง , โปรตีนให้เป็นน้ำตาล ถ้าหากว่าไม่มีอินซูลิน ก็จะส่งผลให้ร่างกายไม่อาจจะนำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงานให้ส่วนต่างๆของร่างกายได้ และก็ยังเป็นเหตุให้หรูหราน้ำตาลในเลือดสูงด้วยเหมือนกัน ทั้งยังเป็นเหตุให้กำเนิดเบาหวานได้ อินซูลินสร้างแล้วก็หลั่งจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อน ปฏิบัติภารกิจเป็นตัวพาน้ำตาลเดกซ์โทรสไปสู่เยื่อต่างๆของร่างกาย เพื่อเผาผลาญเป็นพลังงานสำหรับเพื่อการดำรงชีพ



ใครบ้างที่เสี่ยงเบาหวาน



อายุเกิน 40 ปีขึ้นไป

มีประวัติคนภายในครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน

เป็นผู้มีน้ำหนักเกิน หรือมีดัชนีมวลกายมากยิ่งกว่า 25

มีความดันเลือด หรือมีน้ำตาลในเลือดสูง (เป็นโรคใดโรคหนึ่ง การเสี่ยงต่ออีกโรคก็มากขึ้น) หรูหราไขมันในเลือดสูง

สตรีที่มีประวัติเบาหวานขณะตั้งท้องหรือน้ำหนักบุตรแรกคลอดมากยิ่งกว่า 4 กิโลกรัม

ไม่ออกกำลังกาย ดื่มสุรา และก็/หรือดูดบุหรี่

คุณเป็นโรคเบาหวานหรือเปล่า



ตรวจว่าเป็นโรคเบาหวานไหม ทำเป็นโดยการวัดระดับน้ำตาลในเลือดซึ่งเป็นแนวทางที่ง่าย รวมทั้ง ได้ผลลัพธ์ที่ดีโดยอาศัยกฏเกณฑ์การวิเคราะห์ดังต่อไปนี้



หรูหราน้ำตาลในเลือดขณะงดเว้นของกินรวมทั้งเครื่องดื่มขั้นต่ำ 8 ชั่วโมง มากยิ่งกว่าหรือพอๆกับ 126 มก./ดล.

มีลักษณะของเบาหวาน ร่วมกับระดับน้ำตาลในเลือดเวลาใดก็ตามมีค่ามากยิ่งกว่าหรือพอๆกับ 200 มก./ดล.

มีระดับน้ำตาลในเลือด มากกว่าหรือพอๆกับ 200 มก./ดล.ใน2 ชั่วโมง คราวหลังทดลองความทนต่อน้ำตาลเดกซ์โทรส 75 กรัมที่กินเข้าไป

หรูหราน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (HbA1c) มากยิ่งกว่าหรือพอๆกับปริมาณร้อยละ 6.5 ขึ้นไป

กลุ่มที่เจาะน้ำตาลหลังงดน้ำงดเว้นของกินแล้วได้ค่า 100-125mgเป็นนับว่ามีความผิดธรรมดาแม้กระนั้นยังไม่เป็นโรคเบาหวาน ซึ่งหากไม่ควบคุมและก็บริหารร่างกาย มีการเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวานในอนาคต



สิ่งที่ทำให้เกิดการเกิดโรคเบาหวาน



น้ำหนักเกิน ความอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว ขาดการบริหารร่างกาย

พันธุกรรม

ความเคร่งเครียดเรื้อรัง

อายุที่มากขึ้น ได้โอกาสเป็นโรคเบาหวานได้มากขึ้น

โรคของตับอ่อน ได้แก่ ตับอ่อนอักเสบ ได้รับการผ่าตัดตับอ่อน

การกำจัดเชื้อไวรัสบางจำพวก ได้แก่ ฝึกฝน โรคเหือด คางทูม ซึ่งส่งผลต่อตับอ่อน

การได้รับยาบางจำพวก ทำให้มีการสร้างน้ำตาลเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหรือการโต้ตอบของอินซูลินได้ไม่ดี

การท้อง เนื่องด้วยมีการสร้างฮอร์โมนจากเกลื่อนกลาดหลายประเภท ซึ่งส่งผลยั้งรูปแบบการทำงานของอินซูลิน

ลักษณะของโรคเบาหวานที่จะต้องดู



ฉี่หลายครั้งทั้งยังช่วงเวลากลางวันและก็ค่ำคืน

อยากกินน้ำ ด้วยเหตุว่าสูญเสียน้ำมากมายจากการเยี่ยว

อิดโรยง่าย หมดแรง และก็น้ำหนักลดเหตุเพราะร่างกายนำน้ำตาลไปใช้ไม่ได้

หิวบ่อยมาก กินเก่งขึ้น

คันเรียกตัว ติดเชื้อโรคได้ง่าย เป็นเชื้อรา ตกขาวบ่อยมาก

ตามัว เห็นภาพไม่ชัดเจน เห็นภาพซ้อน

ขาชาอันเนื่องมาจากปลายประสาทเสื่อม

น้ำหนักลดโดยไม่รู้ปัจจัย

เป็นแผลแล้วหายยาก

ผลกระทบของโรคต่อร่างกาย



อาการเฉียบพลันเป็นอาจมีอาการสลบ มีอันตรายถึงชีวิต อาการแทรกซ้อนทำให้เกิดภาวะไตวาย ไตเสื่อม ระบบประสาทชา แผลหายยาก แผลเน่า ลุกลามจนต้องตัดอวัยวะ ตามัว เรตินาเสื่อม ความสามารถทางเพศเสื่อม อัมพาต โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง



สถิติ


ในไทยเจอคนเจ็บ 3.5 ล้านคน

ราคาการดูแลและรักษา 47,596 ล้านบาทต่อปี


โรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน


ตา อาจเป็นต้อกระจกก่อนวัย ประสาทตาหรือจอตาเสื่อม ทำให้ตามัวลงเรื่อยๆและก็อาจทำให้ตาบอดในที่สุด

เท้า เบาหวานไปที่เส้นประสาท ทำให้มีอาการชาปลายมือปลายเท้า เกิดแผลได้ง่ายแล้วก็ อาจก่อให้กำเนิดความพิการ

ไต ชอบเสื่อม จนถึงเกิดภาวะไตวาย

เป็นการติดเชื้อได้ง่ายเนื่องจากภูมิต้านทานต่ำ

สภาวะคีโตซีส คนไข้มีลักษณะอาเจียน คลื่นไส้ อยากดื่มน้ำมากมาย หายใจหอบลึก จับไข้ ไม่สบายใจ

ผนังหลอดเลือดแดงแข็ง ทำให้เป็นความดันเลือดสูง อัมพาต หัวใจขาดเลือด

การดูแลรักษา

โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งยังไม่มีทางรักษาให้ขายขาด การดูแลและรักษาก็เลยเพื่อรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ใกล้เคียงกฏเกณฑ์ธรรมดาให้เยอะที่สุด รวมทั้งความดันเลือด ไขมันในเส้นโลหิต และก็ปกป้องการเกิดภาวะแทรกซ้อน สำหรับการรักษาคนไข้ก็เลยจะต้องเจอหมอตามที่ได้มีการกำหนด ติดตามอาการเป็นช่วงๆ

ให้หลินจือมินดูแลคุณ สมุนไพรช่วยโรคมะเร็ง ความดันสูง เบาหวาน โทร 094 709...





ให้หลินจือมินดูแลคุณ สมุนไพรช่วยโรคมะเร็ง ความดันสูง โรคเบาหวาน

ละเอียดเพิ่มเติม http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

Line ID : @jumbolife



ความดันโลหิต ความดันโลหิตสูง

เมื่อเราไปพบหมอ จะมีการตรวจคัดกรองเบื้องต้น และก็มักจะมีการวัดความดันโลหิต เพื่อพยาบาลรวมทั้งหมอวิเคราะห์พื้นฐานของอาการป่วยได้ ความดันโลหิต เป็นความดัน เป็นเหมือนสัญญาณชีพที่สำคัญ หรือเป็นแรงผลักดัน ของเลือดแดง ที่เกิดจากเลือดหมุนเวียน จากการสูบหรือการเต้นของหัวใจ เพื่อเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆในร่างกาย ในระหว่างการเต้นของหัวใจแต่ละครั้ง ความดันเลือดจะผันแปรระหว่างความดันสูงสุด แล้วก็ความดันต่ำสุด ความดันสูงสุด เป็นตอนที่หัวหัวใจบีบตัว แล้วก็ช่วงความดันต่ำสุด เป็นช่วงที่หัวใจคลายตัว



ความดันเลือด สามารถบอกถึงสุขภาพ รวมทั้งแสดงโรคต่างๆได้ด้วย เมื่อวัดความดันแล้ว สามารถแสดงโรคก่อนวิเคราะห์ได้ว่า เป็นโรคความดันโลหิตสูง รวมทั้งบอกถึงแนวทางการทำงานของหัวใจ และก็โรคหัวใจได้ด้วย



การวัดความดันโลหิต

การวัดความดันโลหิต อย่างถูกต้อง มีความจำเป็นต่อการวิเคราะห์ของหมอ เพื่อรับรองว่า สุขภาพคืออะไร การประมาณความดันจะจัดหมวดหมู่ระดับความดันเป็นหน่วยที่เรียกว่า มิลลิเมตรปรอท ที่สามารถจัดประเภทตามความร้ายแรงและก็วัดความดัน ได้อย่างเที่ยงตรงตั้งแต่ อายุ 18 ปี ขึ้นไป การประเมินความดันเลือดของแต่ละคนก็จะแตกต่างกัน ซึ่งมีอัตราของความดันเลือด ดังต่อไปนี้



–ความดันโลหิต ธรรมดา จะวัดความดันได้ 90-119 / 60-79 มม.ปรอท



–ความดันโลหิต ในคนที่มีทิศทาง ที่จะเป็นความดันเลือดสูง จะวัดความดันได้ 120-130 / 80-89 มม.ปรอท



โรคความดันโลหิตสูง ระยะที่ 1 จะวัดความดันได้ 140-159 / 90-99 มม.ปรอท



–โรคความดันโลหิตสูง ระยะที่ 2 จะวัดความดันได้ ตั้งแต่ 160/100 มม.ปรอท ขึ้นไป



โรคความดันโลหิตสูง ที่มีแนวโน้มเสี่ยงและก็ทำให้เป็นอันตรายตายได้ บางทีอาจจะเป็นโรคหัวใจล้มเหลว สมองไม่สามารถที่จะสั่งได้ และก็ไตล้มเหลว ซึ่งจำต้องเจอหมอด้านใน 1 วัน จะวัดความดัน แล้วก็ความดันเลือดสูง ตั้งแต่ 180/110 มม.ปรอท



–โรคความดันโลหิตสูง ที่จำต้องเจอหมอโดยเร็ว รวมทั้งรีบด่วน เป็นคนที่วัดความดันได้ ตั้งแต่ 220/140 มม.ปรอท ขึ้นไป เพราะบางทีอาจอันตรายถึงชีวิต บางทีอาจเสียชีวิตได้ เนื่องจากว่าระบบแนวทางการทำงานของอวัยวะภายในร่างกายล้มเหลวแล้ว ดังเช่น สมอง หัวใจ แล้วก็ไต



เมื่อวัดความดันโลหิต แล้วพบว่า ความดันเลือดตัวใดตัวหนึ่งสูง หรือทั้งคู่ตัวสูงมากขึ้นกว่าธรรมดา ต้องวัดซ้ำอีกที โดยพักให้ระยะห่างจากการประมาณความดันเลือดรั้งแรก โดยประมาณ 5-15 นาที ถ้าเกิดวัดแล้วค่าซ้ำอีกที ถ้าค่าความดันเลือดยังเปลี่ยนไปจากปกติ ก็นับว่าความดันเลือดแตกต่างจากปกติจริง



สาเหตุของความดันโลหิตสูง

ความดันโลหิตสูง มี 2 กรณี เป็นกรณีแรก ไม่ทราบสาเหตุเด่นชัด แม้กระนั้นส่วนใหญ่จะเจอในกลุ่มผู้ทีมีอายุ 40 ปีขึ้นไป ส่วนอีกกรณีเป็นคนที่มีลักษณะป่วยไข้ ตัวอย่างเช่น เจ็บไข้เกี่ยวกับสมอง ต่อมหมวกไต ต่อมไร้ท่อ แล้วก็โรคเรื้อรังที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น เป็นต้นว่า โรคโลหิตจาง เบาหวาน รวมทั้งเกี่ยวข้องกับการใช้ยาบางประเภท การใช้ยาเสพติด แล้วก็การดื่มแอลกอฮอล์



ลักษณะของความดันโลหิตสูง

โรคความดันโลหิตสูง ปกติ มิได้ออกอาการออกมาอย่างชัดเจน เว้นเสียแต่คนที่เป็นโรคความดันเลือดสูงระยะที่ 2 แล้วก็ระยะวิกฤต จะมีลักษณะ ปวดหัว หายใจไม่ค่อยสบาย หายใจสั้น มีเลือดกำเดาไหล ซึ่งในบางรายก็จะไม่ค่อยพบอาการร่วม และไม่สามารถบอกได้อย่างแจ่มแจ้ง ซึ่งควรจะหมั่นดูแลตนเองรวมทั้งตรวจสุขภาพรายปี จะได้รับรู้ว่าความดันเลือดคืออะไร สุขภาพทางกายแข็งแรงหรือเปล่า



การดูแลและรักษาโรคความดันโลหิตสูง

เมื่อตรวจเจอว่า เป็นโรคความดันสูง ไม่ว่าจะเป็นระยะไหนก็ตาม สิ่งแรกที่หมอจะชี้แนะ เป็นการเปลี่ยนแปลงความประพฤติปฏิบัติ สำหรับการกินอาหาร รวมทั้งให้ออกพลังกายอย่างสม่ำเสมอโดยไม่หักโหม หลบหลีกของกินที่มีโซเดียมสูง หรือของกินเค็ม เน้นย้ำทานผักและก็ทานผลไม้ และก็ของกินที่อุดมไปด้วยกรดไขมันที่ดีต่อสุขภาพร่างกาย งดเว้นแอลกอฮอล์ ดังนี้หมอจะจ่ายยาให้ทานพร้อมกันกับการปรับพฤติกรรมของคนไข้ความดันเลือดสูง เพื่อความดันเลือดลดน้อยลงมาอยู่ในสภาวะธรรมดา และก็ยังรักษาโดยนึกถึงจำพวก รวมทั้งลักษณะของโรค รวมทั้งปัจจัยที่จริงจริงของโรคความดันเลือดสูงด้วย



แม้เป็นโรคความดันสูง เป็นเวลานาน แล้วมิได้รับการดูแลรักษา หรือดูแลรักษาสุขภาพร่างกายผิดจะต้อง จะก่อให้มีผลแล้วก็มีปัญหาสุขภาพตามมามาก โดยบางทีอาจอันตรายถึงชีวิตได้ โดยเหตุนี้ ควรจะเปลี่ยนแปลงความประพฤติการใช้ชีวิต รวมทั้งรับการดูแลรักษาอย่างทันเวลา กินอาหารที่มีเส้นใย และก็ของกินที่เป็นประโยชน์ หรือเพียงแค่กินสินค้า ที่มาจากสารสกัดที่ได้มาจากธรรมชาติ ทั้งยัง 5 ประเภทที่ช่วยเสริมสมรรถนะสำหรับในการปฏิบัติงาน ภายในร่างกาย ทำให้มีภูมิต้านทานที่สมดุล เพียงเท่านี้ ก็จะทำให้ปัญหาของความดันโลหิตสูง ลดลงได้