วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562

ปัญหาข้อเข่าอักเสบ BIM100 น้ำมังคุดช่วยโรคข้อเข่าเสื่อม





ปัญหาข้อเข่าอักเสบ BIM100 น้ำมังคุดช่วยโรคข้อเข่าเสื่อม

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.bim100foryou.com/

โทร 094-709-4444 ,  089-071-8889,

        094-435-0404 , 088-826-4444

ไลน์:  @jumbolife หรือคลิกลิ้งค์  https://line.me/R/ti/p/%40jumbolife



โรคข้อเข่าเสื่อม เกิดจากกระดูกอ่อน ที่ทำหน้าที่ในการปกป้องและเป็นตัวรับแรงกระแทกในข้อเข่า มีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง



เมื่อใดก็ตามที่กระดูกอ่อนเกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้างจะส่งผลให้กระดูกในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด



ทั้งนี้ ข้อเข่าเสื่อมเกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง เช่น กระดูกอ่อนผิวข้อบางลง และ ผิวไม่เรียบ มีกระดูกงอกบริเวณขอบๆ ข้อ และเกิดการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำไขข้อมากขึ้น แต่ความยืดหยุ่นลดลง



 7 ปัจจัยเสี่ยงของโรคข้อเข่าเสื่อม

1.  พันธุกรรม : และความผิดปกติแต่กำเนิดบางชนิด เช่น ขา หรือเข่าผิดรูป

2. อายุ : เมื่ออายุมากขึ้น ความสามารถในการซ่อมแซมตัวเองของกระดูกอ่อนก็ลดลง

3. เพศ : นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป จะมีแนวโน้มของการเกิดข้อเข่าเสื่อมได้มากกว่าผู้ชายที่อายุเท่ากัน

4. น้ำหนักตัวมาก : BMI มากกว่า 23 กก./ม.2 (สูตรการหาค่า BMI ทำได้โดย เอาน้ำหนักตัว [หน่วยเป็นกิโลกรัม] หารด้วย ส่วนสูง [หน่วยเป็นเมตร] ยกกำลัง 2 )

5. เคยบาดเจ็บมาก่อน : มีประวัติการบาดเจ็บที่ข้อเข่า ซึ่งส่งผลให้มีโอกาสเกิดข้อเข่าเสื่อมได้สูง โดยอาจเป็นผลจาก

– การบาดเจ็บ แม้ร่างกายจะมีการซ่อมแซมตัวเองหลังการบาดเจ็บ โครงสร้างข้อเข่าก็อาจไม่แข็งแรงเหมือนเดิม

– ได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง

6. ใช้งานหนักเกินไป : ใช้ใช้ข้อเข่าหักโหมซ้ำๆ หรือท่าทางที่ต้องงอเข่ามากเกินไป เช่น การคุกเข่า หรือนั่งยองๆ ทำให้เข่าต้องรับแรงกดสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน หรือบ่อยครั้ง

7. โรคไขข้ออักเสบ : เช่น รูมาตอยด์ เกาต์ ส่งผลให้กระดูกอ่อนถูกทำลายจนกระทั่งหมดไป ทำให้เกิดอาการปวดและข้อติดแข็งตามมา




โรคข้อเข่าเสื่อม เกิดจากกระดูกอ่อน ที่ทำหน้าที่ในการปกป้องและเป็นตัวรับแรงกระแทกในข้อเข่า มีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง



เมื่อใดก็ตามที่กระดูกอ่อนเกิดความเสียหายเป็นบริเวณกว้างจะส่งผลให้กระดูกในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด



ทั้งนี้ ข้อเข่าเสื่อมเกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆ อย่าง เช่น กระดูกอ่อนผิวข้อบางลง และ ผิวไม่เรียบ มีกระดูกงอกบริเวณขอบๆ ข้อ และเกิดการสูญเสียคุณสมบัติของน้ำไขข้อมากขึ้น แต่ความยืดหยุ่นลดลง




7 ปัจจัยเสี่ยงของโรคข้อเข่าเสื่อม

1. พันธุกรรม : และความผิดปกติแต่กำเนิดบางชนิด เช่น ขา หรือเข่าผิดรูป



2. อายุ : เมื่ออายุมากขึ้น ความสามารถในการซ่อมแซมตัวเองของกระดูกอ่อนก็ลดลง



3. เพศ : นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป จะมีแนวโน้มของการเกิดข้อเข่าเสื่อมได้มากกว่าผู้ชายที่อายุเท่ากัน



4. น้ำหนักตัวมาก : BMI มากกว่า 23 กก./ม.2 (สูตรการหาค่า BMI ทำได้โดย เอาน้ำหนักตัว [หน่วยเป็นกิโลกรัม] หารด้วย ส่วนสูง [หน่วยเป็นเมตร] ยกกำลัง 2 )



5. เคยบาดเจ็บมาก่อน : มีประวัติการบาดเจ็บที่ข้อเข่า ซึ่งส่งผลให้มีโอกาสเกิดข้อเข่าเสื่อมได้สูง โดยอาจเป็นผลจาก



– การบาดเจ็บ แม้ร่างกายจะมีการซ่อมแซมตัวเองหลังการบาดเจ็บ โครงสร้างข้อเข่าก็อาจไม่แข็งแรงเหมือนเดิม



– ได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง



6. ใช้งานหนักเกินไป : ใช้ใช้ข้อเข่าหักโหมซ้ำๆ หรือท่าทางที่ต้องงอเข่ามากเกินไป เช่น การคุกเข่า หรือนั่งยองๆ ทำให้เข่าต้องรับแรงกดสูงกว่าปกติเป็นเวลานาน หรือบ่อยครั้ง



7. โรคไขข้ออักเสบ : เช่น รูมาตอยด์ เกาต์ ส่งผลให้กระดูกอ่อนถูกทำลายจนกระทั่งหมดไป ทำให้เกิดอาการปวดและข้อติดแข็งตามมา







อาการแสดงของโรคข้อเข่าเสื่อม



ในบางรายอาจพบอาการเพียงอาการเดียว หรือ หลายอาการพร้อมกันก็ได้ ในระยะแรกมักจะเป็นไม่มาก และเป็นๆ หายๆ แต่เมื่อข้อเสื่อมมากขึ้น ก็จะมีอาการบ่อยมากขึ้น หรือ เป็นตลอดเวลา ดังนี้

-ปวดข้อเข่า รู้สึกเมื่อย ตึงที่น่อง และข้อพับเข่า

-ผิวหนังบริเวณข้ออุ่น หรือร้อนขึ้น

-ข้อขัด ข้อฝืด เหยียด-งอเข่าได้ไม่สุด

-มีเสียงดังในข้อเวลาขยับข้อเข่า จากการเสียดสีกันของผิวข้อที่ไม่เรียบ

-ข้อเข่าบวม เพราะน้ำไขข้อมากขึ้นจากการอักเสบ

-มีก้อนถุงน้ำในข้อพับเข่า จากเยื่อบุข้อเข่าแตกออกมา

-เข่าคดเข้า เข่าโก่งออก

-มีกระดูกงอก ทำให้ข้อผิดรูปร่าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น