วันจันทร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2560

หลินจือมิน ดูแลอาการความดันต่ำ หน้ามืด เวียนหัว โทร 088 826 4444







หลินจือมิน ดูแลอาการความดันต่ำ หน้ามืด เวียนหัว

สอบถามรายละเอียด

http://www.Linhzhiminkorea.com

โทร 089-071-8889 , 094-709-4444 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolifeshop

https://www.facebook.com/LINHZHIMIN2U




ความดันต่ำ (Low Blood Pressure/Hypotension) เป็นภาวะความดันโลหิตในหลอดเลือดแดงต่ำกว่าปกติ หรือมีค่าความดันโลหิตต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ในผู้ใหญ่ สำหรับบางรายที่มีภาวะความดันเลือดต่ำ แต่ไม่พบอาการผิดปกติใด ๆ ในทางการแพทย์ยังจัดว่าสุขภาพเป็นปกติดีและไม่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษา


ความดันต่ำ



โดยปกติหัวใจจะมีการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายอย่างสม่ำเสมอผ่านหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดำ และหลอดเลือดฝอย โดยอาศัยแรงดันภายในหลอดเลือดเป็นตัวช่วยสูบฉีด ซึ่งมีค่าการวัดเป็นมิลลิเมตรปรอท และสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ค่า โดยตัวแรก (หรือตัวบน) เรียกว่า ค่าความดันโลหิตซีสโตลิค (Systolic Pressure) เป็นแรงดันในหลอดเลือดแดงขณะหัวใจบีบตัว และตัวที่สอง (หรือตัวล่าง) เรียกว่าค่าความดันโลหิตไดแอสโตลิค (Diastolic Pressure) เป็นแรงดันในหลอดเลือดแดงขณะหัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของผู้ใหญ่จะอยู่ระหว่าง 90/60 มิลลิเมตรปรอท และ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ดังนั้น หากวัดค่าความดันโลหิตได้สูงต่ำกว่า 90/60 มิลลิเมตรปรอท จึงทำให้เกิดภาวะความดันเลือดต่ำ แต่ถ้าค่าที่วัดได้สูงกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไปจะจัดเป็นภาวะความดันโลหิตสูง



นอกจากนี้ ภาวะความดันโลหิตต่ำยังแบ่งออกได้หลายประเภทตามลักษณะในแต่ละช่วงเวลาที่ค่าความดันโลหิตลดลง เช่น ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า (Orthostatic Hypotension) จะเกิดเมื่อมีการเปลี่ยนท่าทางอย่างทันทีทันใดจากการนั่งหรือนอนมาลุกขึ้นยืน หรือจากท่านอนมาเป็นท่านั่ง ความดันโลหิตต่ำหลังรับประทานอาหารมื้อใหญ่ (Postprandial Hypotension) ความดันโลหิตต่ำขณะยืนเป็นเวลานาน (Neurally Mediated Hypotension) หรือความดันโลหิตต่ำรุนแรงจนนำไปสู่อาการช็อก






อาการของภาวะความดันโลหิตต่ำ



ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำกว่าปกติโดยธรรมชาติมักไม่ก่อให้เกิดอาการใด ๆ แต่สำหรับผู้ที่เคยมีความดันโลหิตสูงแล้วลดลง แม้อาจไม่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยความดันโลหิตปกติก็ถือว่าเป็นภาวะผิดปกติที่ต้องรักษา ภาวะความดันโลหิตต่ำบางครั้งอาจเป็นผลมาจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอหรือมีความผิดปกติเกิดขึ้นภายในร่างกายจนเป็นผลให้ภาวะความดันโลหิตลดต่ำลง ผู้ป่วยจึงอาจพบอาการได้ดังนี้


วิงเวียนศรีษะ หน้ามืด เป็นลม

ทรงตัวไม่อยู่

มองเห็นภาพไม่ชัด

ใจสั่น ใจเต้นแรง

อาการมึนงง สับสน

คลื่นไส้

อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย

หายใจตื้นและถี่

กระหายน้ำ

ตัวเย็น ผิวซีด หนาวสั่น

อาการเหล่านี้มักจะเป็นชั่วคราว สำหรับผู้ป่วยที่เกิดอาการเล็กน้อยสามารถทำให้ดีขึ้นด้วยการดื่มน้ำมาก ๆ หยุดทำกิจกรรมในขณะนั้น ค่อย ๆ นั่งพักหรือนอนลงชั่วครู่ แต่หากเป็นบ่อยหรือรุนแรงขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อตรวจดูและหาสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการ เพราะอาจเป็นผลมาจากความผิดปกติด้านอื่นจนเป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต



สาเหตุของภาวะความดันโลหิตต่ำ


ความดันโลหิตต่ำเกิดได้จากหลายสาเหตุ ตั้งแต่พฤติกรรมการใช้ชีวิต การรับประทานยา ไปจนถึงเป็นผลพวงมาจากความผิดปกติของปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งสาเหตุของภาวะความดันโลหิตต่ำที่พบได้บ่อยอาจมาจาก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น