วันจันทร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2560

ยิ่งอายุเยอะ สุขภาพยิ่งแย่ลง BIM100 สร้างภูมิสมดุลให้สุขภาพ ช่วยโรคข้อเข...







ยิ่งอายุเยอะ สุขภาพยิ่งแย่ลง BIM100 สร้างภูมิสมดุลให้สุขภาพ ช่วยโรคข้อเข่าเสื่อม 

สอบถามเพิ่มเติม

https://www.jumbolifeshop.com/p/33

โทร 088-826-4444 , 094-709-4444

        089-071-8889 , 094-435-0404

LINE ID : @Jumbolife




โรคข้อเข่าเสื่อม

โรคข้อเข่าเสื่อมเกิดจากการที่กระดูกอ่อนซึ่งทำหน้าที่ปกป้องและเป็นตัวดูดซับแรงกระแทกในข้อเข่ามีการสึกหรอและเสื่อมสภาพลง หากกระดูกอ่อนนี้เสียหายเป็นพื้นที่กว้าง กระดูกในข้อเข่าจะเสียดสีกันเอง ทำให้เกิดการอักเสบและมีอาการปวด





สาเหตุของโรคข้อเข่าเสื่อม

พันธุกรรมและความผิดปกติแต่กำเนิดบางชนิด เช่น ขาหรือเข่าผิดรูป

อายุและเพศ โดยเมื่ออายุมากขึ้น ความสามารถในการซ่อมแซมตัวเองของกระดูกอ่อนก็ลดลง นอกจากนี้ ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไปจะมีแนวโน้มของการเกิดข้อเข่าเสื่อมได้มากกว่าผู้ชายที่อายุเท่ากัน

น้ำหนักตัวมาก (BMI มากกว่า 23 กก./ม.2)

ประวัติการบาดเจ็บที่ข้อเข่า ซึ่งส่งผลให้มีโอกาสเกิดข้อเข่าเสื่อมได้สูง โดยอาจเป็นผลจาก

การบาดเจ็บ โดยถึงแม้ร่างกายจะมีการซ่อมแซมตัวเองหลังการบาดเจ็บ โครงสร้างข้อเข่าก็อาจไม่แข็งแรงเหมือนเดิม

ได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง

การใช้ข้อเข่าหักโหมซ้ำๆ หรือท่าทางบางอย่างที่ต้องงอเข่ามากเกินไป เช่น การคุกเข่า หรือนั่งยองๆ ซึ่งทำให้เข่าต้องรับแรงกดสูงกว่าปกติเป็นเวลานานหรือบ่อยครั้ง

โรคไขข้ออักเสบ เช่น รูมาตอยด์ เกาต์ ส่งผลให้กระดูกอ่อนถูกทำลายจนกระทั่งหมดไป ทำให้เกิดอาการปวดและข้อติดแข็งตามมา








การวินิจฉัยโรคข้อเข่าเสื่อม

-การซักประวัติอาการและการเจ็บป่วย และตรวจร่างกาย

-การเอกซเรย์

-การเจาะเลือด

-การตรวจเพิ่มเติมอื่นๆ เพื่อดูโครงสร้างของข้อเข่า เช่น การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การสแกนด้วยคอมพิวเตอร์



การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

-การรักษาที่ไม่ใช่การผ่าตัด ช่วยบรรเทาอาการปวดและช่วยให้เข่าเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น ได้แก่ปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้ชีวิต ได้แก่ รับประทานอาหารที่เหมาะสมเพื่อควบคุมน้ำหนักตัว ออกกำลังกายชนิดส่งแรงกระแทกข้อเข่าน้อยเป็นประจำ เช่น ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน เดิน เพื่อส่งเสริมให้ข้อเข่าแข็งแรงขึ้น

-ลดน้ำหนักหากมีน้ำหนักตัวมากเกินไป เพื่อลดแรงกดบนข้อเข่า

รับประทานยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์

-กายภาพบำบัด

-ใช้แผ่นรองด้านในรองเท้าและสนับเข่า เพื่อช่วยพยุงและลดแรงกระทบต่อเข่า

-การรักษาด้วยการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม

-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมด้านเดียว (Unicompartmental Knee Arthroplasty: UKA)

-การผ่าตัดด้วยวิธีดั้งเดิม

-การผ่าตัดโดยใช้แขนกลหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (MAKOplasty®)

-การผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทั้งข้อ (Total Knee Replacement: TKR)

-การผ่าตัดด้วยวิธีดั้งเดิม

-การผ่าตัดโดยใช้แขนกลหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัด (MAKOplasty®) – กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา และคาดว่าจะสามารถให้บริการได้ในกลางปี พ.ศ.2557

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น